กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1916
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กฤษณะ ชินสาร | th |
dc.contributor.author | สุวรรณา รัศมีขวัญ | th |
dc.contributor.author | เบญจภรณ์ จันทรกองกุล | th |
dc.contributor.author | ภูสิต กุลเกษม | th |
dc.contributor.author | อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์ | th |
dc.contributor.author | ชิดชนก เหลือสินทรัพย์ | th |
dc.contributor.author | ปิยตระกูล บุญทอง | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:57Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:57Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1916 | |
dc.description.abstract | การตรวจหามะเร็งเต้านมจะใช้เทคนิคการประมวลผลภาพทางการแพทย์มาตรวจสอบก้อนเนื้อที่เป็นรอยฉีกจะเป็นปัจจัยที่บ่งชี้การเป็นมะเร็งเบื้องต้น ในกระบวนการตรวจสอบก้อนเนื้อที่เป็นรอยฉีกแบบอัตโนมัติจะประกอบไปด้วย ขั้นตอนการประมวลผลภาพที่มีประสิทธิภาพ โดยการกำจัดส่วนของกล้ามเนื้อหน้าอก (Pectoral Muscle) ด้วยวิธีการ Region growing จากนั้นทำการลดขนาดรูปภาพเพื่อหาบริเวณที่เราสนใจ (Region of interest: ROI) ด้วยวิธีคำนวณหาอัตราส่วนของเต้านม การปรับปรุงคุณภาพของส่วนพื้นที่ที่เหลือในภาพ ROI ด้วยโพลิโนเมียลเฮอร์ไมท์ เมื่อจบการประมวลผลขั้นตอน ผู้วิจัยได้นำเสนอขั้นตอนวิธีการหาจุดเริ่มต้นของเอ็กทีฟคอนทัวร์ (Active contour) ด้วยขั้นวิธี Radon Transform จากนั้นคำนวณรูปร่างของมวลเนื้อเยื่อแบบรอยฉีกด้วยแอ็กทีฟคอนทัวร์ ด้วยเทคนิคที่อยู่บนพื้นฐาน GGVF จากกระบวนการที่ได้นำเสนอภาพที่ใช้จากฐานข้อมูลภาพดิจิตอลเมมโมแกรมให้ความถูกต้องของผลลัพธ์เป้นที่น่าพึงพอใจมากและสามารถระบุตำแหน่งของมวลเนื้อเยื่อที่คาดว่าจะเป็นเนื้อเยื่อที่มีรอบฉีกอย่างอัตโนมัติ | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การวินิจฉัยโรค | th_TH |
dc.subject | การหามะเร็งเต้านม | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | โครงการ การตรวจหามะเร็งเต้านมโดยการตรวจหามวลที่มีรูปร่างแบบ Spiculation สำหรับคอมพิวเตอร์ช่วยการวินิจฉัยในโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | Breast cancer detection by evaluating spiculated mass for computer-aided diagnosis in hospital patients | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Detection of breast cancer in early stage is the best way diagnosis. Then, breast cancer diagnosis with spiculated mass based on medical image processing techniques was proposed in this paper. The proposed method consists of two main steps including pre-processing and post-processing. In the pre-processing step. pectoral muscle detection based on region growing techniques and identification of ROI of human breast based on Hermite polynomial were proposed. In the post-processing step, initial seed point of active contour based on Radon transform and active contour for detecting irregular tissue area based on GGVF were applied. The numerical tests employing images from the digital database for screening mammography show good accuracy of our proposed algorithm for detecting spiculated masses. In addition, the proposed method was also automatic detection of all spiculated tissues. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_069.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น