กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/189
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรรณรัตน์ ลาวัง | |
dc.contributor.author | รัชนี สรรเสริญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:56Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:56Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/189 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นเป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาระบบฐานข้อมูลญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน ในเขตภาคตะวันออก และให้บริการเผยแพร่ฐานข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งกระบวนการวิจัยมี 6 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาความต้องการของผู้ใช้และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของระบบ 2) จัดหา รวมบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดหมวดหมู่ข้อมูล 3) ออกแบบฐานข้อมูลและพัฒนาโปรแกรม 4) จัดทำคู่มือการใช้โปรแกรม 5) ทกสอบการทำงาน และปรับปรุงโปรแกรม และ 6) เผยแพร่ข้อมูลและให้บริการ โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลคือ MySQL ซึ่งมี HTML JAVA Script และ PHP เป็นเครื่องมือในการเขียนโปรแกรม ซึ่งผลการวิจัยคือ ฐานข้อมูลและ Homepage ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 1) ฐานข้อมูลญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและเครือญาติผู้ดูแล (ญาติผู้ดูแล ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้เชี่ยวชาญ/ นักวิชาการ/ นักวิจัย/ บุคลากรทางสุขภาพ หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง 2) ฐานข้อมูลการถ่ายทอดเทคโนโลยีการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง (หนังสือ/คู่มือ วิทยานิพนธ์/ งานวิจัย บทความวิชาการ/ บทความวิจัย และ VDO/CD/VCD) จากนั้นทำการประเมินระบบฐานข้อมูลญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังฯ โดยการทดลองใช้กับกลุ่มญาติผู้ดูแล นักวิจัย นักวิชาการ บุคลากร จากสถานบริการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้น 50 คน พบว่า ภาพรวม ระบบฐานข้อมูลญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก และมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งขณะนี้ฐานข้อมูลได้มีการติดตั้งไว้ที่ศูนย์พัฒนานวัตกรรมการดูแลสุขภาพภาคตะวันออก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา หรือในเว็บไซต์ http://homecare.buu.ac.th ผลการศึกษานี้เสนอแนะได้ว่า ฐานข้อมูลดังกล่าวจะมีประโยชน์ในการจัดการความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและญาติผู้ดูแล ซึ่งนักวิจัย นักวิชาการ บุคลากร จากสถานบริการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถที่จะใช้ฐานข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ต และพัฒนาเชื่อมต่อฐานข้อมูลขยายออกไปเพื่อนำไปสู่ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | Chronically ill Patient | th_TH |
dc.subject | Database System | th_TH |
dc.subject | Family Caregive | th_TH |
dc.subject | การพยาบาลในเคหสถาน - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - ฐานข้อมูล | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - - การดูแล - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - ฐานข้อมูล | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - - การดูแลที่บ้าน - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - ฐานข้อมูล | th_TH |
dc.subject | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ - - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - - ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การจัดระบบฐานข้อมูลญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านในเขตภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Creating database system of family caregiver for chronically III patients in Eastern region | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2549 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to construct and develop a database system of family caregiver for chronically ill patients in Eastern region, Thailand, and 2) todistribute a database on internet netwrok. In constructing the database, following 6 steps, firstly, finding feasibility of system and user needs was explored. Secondly, researcher collected, analyzed and synthesized the data. Thirdly, a database and program were designed and developed. Fourthly, a handbook of program using was set. Fifthly, a database was tested for its function and user satisfaction before the final database was installed at the server. Finally, database service was provided. The MySQL database system, HTML, JAVA Script, and PHP were used as the tool to develop application and writing this program. The database composed of 2 parts: 1) databases related to caregiver and network system including data of family caregivers, chronically ill patients, experts, researchers, health personnel, and healthcare service organization, and 2) databases related to knowledge distribution including data of book, research, article, and VDO/CD/CD. According to database system evaluation, the results revealed that the fifty users including family caregivers, researcher, and health personnel satisfied to program efficiency of this database at a high level on both context and program. The database was installed at content of caregiving innovation development, faculty of nursing, Burapha University and website: http://homecare.ac.th In conclusion, this findings suggest that this database may be provides a knowledge management benefit relating to chronically ill patient care and family caregivers. Users including nursing, researchers, and stakeholders can access the data via internet and use them to enhance patients and caregivers' health | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_143.pdf | 8.79 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น