กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1899
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชมพูนุช ปัญญไพโรจน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:55Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:55Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1899 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยเรื่อง กระบวนการสร้างตราสินค้าแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย เพื่อศึกษากระบวนการสร้างตราแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการตราแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยตราแหล่งท่องเที่ยวที่เลือกมาศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ ตำบลอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 3 กลุ่ม ได้แก่ บุคลากรจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว จำนวน 6 คน ผู้ประกอบการ จำนวน 15 คน และนักท่องเที่ยว จำนวน 60 คน ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า แหล่งท่องเที่ยวตำบลอัมพวา จังหวัด สมุทรสงครามนั้น มีกระบวนการสร้างตราแหล่งสินค้าสอดคล้องตามแนวคิดที่ World Tourism Organization and European Travel Commission (2009) ทั้ง 10 ขั้นตอน ขณะที่แหล่งท่องเที่ยวอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ขาดขั้นตอนหลัก ๆ เกือบทุกขั้น และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการตราแหล่งท่องเที่ยว คือ นโยบายที่ผ่านการวิเคราะห์และวางแผนของหน่วยงานของรัฐ ความเข้มแข็งของคนในชุมชน การมีผู้นำท้องถิ่นที่มีวิสัยทัศน์สร้างสรรค์ การมีการประสานงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนสร้างตรา การสื่อสารระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อเข้าใจบทบาท หน้าที่ การทำานของแต่ละส่วนงาน การกำหนดนโยบายในการลงทุนโดยนักลงทุนภายนอก และการเตรียมความพร้อมในการเข้ามาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การสร้างแบรนด์ | th_TH |
dc.subject | ตราสินค้า | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การสร้างตราสินค้าแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Destination brand building in Thailand | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | chompunuch@yahoo.com | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to investigate the brand building process of destination brand in Thailand and the factors influencing destination brand management in Thailand. Two destination brands selected were Amphawa district, Samut songkhram province and Pai district, Maehongson province. Document analysis and in-depth interviews were employed in this study. Informants consisted of six government service officers working in tourism areas, 15 merchants and 60 tourists. The research results revealed that Amphawa district, Samut songkhram province had the 10 branding process steps of World Tourism Organization and European Travel Commission (2009) while Pai district, Maehongson province did not follow the process. The factors influencing the destination brand management were the government policies that were analyzed and planned carefully, the community strength, the community leader having a vision, the cooperation among stakeholders, the brand building knowledge, the communication among stakeholders, the policies in controlling the outside investors and the preparation for foreign tourists | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_053.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น