กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1881
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อภิรดี ปิลันธนภาคย์ | |
dc.contributor.author | สุดารัตน์ สวนจิตร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:54Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:54Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1881 | |
dc.description.abstract | การศึกษาฤทธิ์ต้านจุลชีพของราที่แยกได้จากดินและน้ำในนาเกลือ จำนวน 150 สายพันธุ์ โดยใช้สารสกัดเอธิลอะซิเตทหยาบจากอาหาร potato dextrose broth ความเค็ม 30 ppt (PDB/sw) ที่ใช้เลี้ยงราทดสอบ นำไปทดสอบการยับยั้งแบคทีเรียสายพันธุ์มาตรฐาน จำนวน 6 ชนิดและยีสต์ Candida albicans สายพันธุ์มาตรฐาน จำนวน 2 สายพันธุ์ ด้วยวิธี disk diffusion พบว่าสารสกัดหยาบ 60 สารจากอาหารเหลวเลี้ยงรา 150 สายพันธุ์ (ร้อยละ 40) ยับยั้งแบคทีเรียทดสอบได้อย่างน้อย 1 ชนิด และสารสกัดหยาบ 36 สาร (ร้อยละ 24) ยับยั้งยีสต์ทดสอบอย่างน้อย 1 สายพันธุ์ สารสกัดเกือบทั้งหมดยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวก Bacillus cereus TISTR 008 และ Staphylococcus aureus ATCC 25923ได้ดี ค่า MIC ต่อแบคทีเรียแกรมบวกของสารสกัดจาก PDB/sw ของราที่ดีที่สุด ที่คัดเลือกมาจำนวน 11 สายพันธุ์ อยู่ในช่วง 8-256 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ค่า MIC ต่อยีสต์อยู่ในช่วง 512-1024 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ราที่สารสกัดให้ผลยับยั้งดีต่อแบคทีเรียแกรมบวกทั้งสองชนิด (MIC<128 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) มีจานวน 8 สายพันธุ์ ได้แก่ SS 066, SS 069, SS 070, SS 076, SS 078, SS 079, SSpb4215 และ SSpb4225 เมื่อเปรียบเทียบค่า MIC ของสารสกัดจาก PDB/sw และ PDB/dw (ความเค็ม 0 ppt) ของราที่คัดเลือกไว้จำนวน 5 สายพันธุ์จาก 8 สายพันธุ์ พบว่าแตกต่างกันไปขึ้นกับสายพันธุ์รา สารองค์ประกอบในสารสกัดสามารถแยกออกจากกันโดยวิธี TLC ในตัวทำละลาย toluene: methanol: acetone (6:1:3 ปริมาตรต่อปริมาตร) พบว่าราสายพันธุ์เดียวกันแต่เลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีความเค็มต่างกัน แสดงจำนวนสารองค์ประกอบต่างกัน แต่ส่วนใหญ่สารที่แยกได้มีค่า Rf ไม่แตกต่างกัน พบการยับยั้งแบคทีเรียทดสอบของสารองค์ประกอบที่แยกได้บนแผ่น TLC โดยวิธี autobiography อย่างชัดเจน แต่ในเบื้องต้นยังไม่สามารถตัดสินแน่ชัดว่าการยับยั้งเป็นผลมาจากสารองค์ประกอบใด มีแนวโน้มว่าสารองค์ประกอบ ที่มีค่า Rf 0.62 และ 0.64 0.64 0.64 0.64 (PDB/sw และ PDB/dw) ของสารสกัดรา SS 069 SS 069 SS 069 SS 069 SS 069 SS 069 SS 069 ค่า Rf 0.700.700.700.70 และ 0.71 0.71 0.71 0.71 0.71 (PDB/sw) ของสารสกัดรา SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 SSpb1122 ค่า Rf 0.660.660.660.66 และ 0.69 (PDB/sw) ของสารสกัดรา SSpb4225 SSpb4225 SSpb4225 SSpb4225 ค่า Rf 0.68 (PDB/sw) ของสารสกัดรา SSpb4332 SSpb4332 ยังคงยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวก B. cereus TISTR 008 ได้ดีที่สุด และดีกว่า S. aureus ATCC 25923 การจัดจำแนกราทางอณูพันธุศาสตร์ร่วมกับการศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของราที่ดีที่สุด ที่คัดเลือกมา จำนวน 11 สายพันธุ์ข้างต้น สามารถระบุสปีชีส์ได้เพียง 1 สายพันธุ์ ราส่วนใหญ่เป็น Aspergillus ที่ยังไม่สามารถระบุสปีชีส์ได้ รา SS 033 และ SS 066 เป็นราที่ระบุแทกซ้อนได้เพียง Dothidiomyces และ Hypocreales ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าราที่มีคุณสมบัติยับยั้งแกรมบวกจากนาเกลือส่วนใหญ่มีแนวโน้มเป็นราชนิดใหม่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | TLC bioautography | th_TH |
dc.subject | ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการ | th_TH |
dc.subject | รานาเกลือ | th_TH |
dc.subject | ฤทธิ์ต้านจุลชีพ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การศึกษาฤทธิ์ต้านจุลชีพของราที่แยกได้จากนาเกลือ | th_TH |
dc.title.alternative | Study of antimicrobial activities of fungi isolated from solar salterns | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Antimicrobial activity of fungi isolated from soil and water in solar salterns were evaluated. Crude extract from culture filtrates of 150 fungi in potato dextrose broth at salinity 30 ppt (PDB/sw) were extracted with ethyl acetate and were tested against six standard bacteria and two standard Candida albicans, by disk diffusion technique. Sixty and thirty six out of 150 crude extracts (40% and 24%) could inhibited at least one tested bacteria and at least one Candida strain, respectively. Almost all of the extracts exhibited stronger anti-bacterial activity against Gram positive bacteria; Bacillus cereus TISTR 008 and Staphylococcus aureus ATCC 25923. The PDB/sw extracts from eleven fungi showed low MIC; 8-256 μg/ml, against Gram positive bacteria while the MIC against yeast were 512-1024 μg/ml. Eight fungi which processed the best activity (MIC≤128 μg/ml) against both Gram positive bacteria were SS 066, SS 069, SS 070, SS 076, SS 078, SS 079, SSpb4215 and SSpb4225. Comparison of MIC between PDB/sw and PDA/dw (0 ppt salinity) extracts of five selected fungi varied depend on the fungal strains. The composition of all extracts could be separated in toluene: methanol: acetone (6:1:3 v/v) by TLC method. Extracts from the same fungus cultured in different salinity sources showed different numbers of composition, but most similar in Rf value. The positive antibacterial activity against tested bacteria can be seen obviously by bioautography, however the exact positive component could not be determined in this preliminary study. In seemed that, the compounds with Rf 0.620.620.620.62/0.64 0.64 0.64 0.64 0.64 (PDB/s(PDB/s(PDB/s(PDB/s(PDB/s(PDB/sw and w and w and w and w and w and PDB/dw) extracts extracts extracts extracts extracts extracts extracts extracts extracts of of of SS 069SS 069SS 069SS 069SS 069SS 069, Rf 0.700.700.700.70/ 0.710.710.710.71 (PDB/sw) of of of SSpb1122SSpb1122SSpb1122SSpb1122SSpb1122SSpb1122SSpb1122SSpb1122, Rf 0.66/ 0.69 0.69 (PDB/sw) of of SSpb4225SSpb4225SSpb4225SSpb4225SSpb4225SSpb4225SSpb4225SSpb4225, Rf 0.68 (PDB/sw) of of SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 SSpb4332 still still still still still still revealed high activity against B. cereus TISTR 008 and better than S. aureus ATCC 25923. Molecular identification of 11 selected best fungi, together with the study of evolutional relation could indicate only one fungus into species level. Most of the fungi were unknown Aspergillus spp. SS 033 and SS 066 could be located in only the Dothidiomyces and Hypocreales taxa, respectively. The results indicated that most of the fungi with anti-Gram positive bacteria from solar salterns were new to Sciences | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_024.pdf | 3.59 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น