กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1876
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพิทักษ์ สูตรอนันต์
dc.contributor.authorกล่าวขวัญ ศรีสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:54Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:54Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1876
dc.description.abstractเซลล์แมคโครฟาจ RAW264.7 ที่ถูกกระตุ้นด้วย LPS เป็นโมเดลที่ถูกใช้ในการศึกษากลไกการอักเสบ ซึ่งมีหลายกลุ่มวิจัยได้นำมาใช้เป็นโมเดลในการศึกษาสารออกฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยอาศัยเทคโนโลยีไมโครอาร์เรย์ที่สามารถนำมาใช้ในการตรวจวัดการตอบสนองของยีนทั้งหมดภายในเซลล์ในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดระดับของ mRNA ภายในข้อมูลไมโครอาร์เรย์ที่มีการศึกษากันเป็นจำนวนมากนั้นถูกรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลสาธารณะ ข้อมูลไมโครอาร์เรย์เหล่านี้สามารถนำมาใช้ในการศึกษาด้วยเครื่องมือทางชีวสารสนเทศหรือการศึกษาทางด้านชีววิทยาเชิงระบบ เพื่อค้นหากลไกการตอบสนองการอักเสบของเซลล์แมคโครฟาจอย่างเป็นระบบได้ เครื่องมือที่สำคัญที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ เครื่องมือทางชีวสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกยีน การสร้างเครือข่ายปฏิสัมพันธ์ของการแสดงออกร่วม การสร้างเครือข่ายการควบคุมการแสดงออกของยีน การบูรณาการข้อมูลทางชีวภาพ รวมถึงการแปลผลทางชีวภาพ เพื่อทำการค้นหาเครือข่ายย่อยและชุดยีนที่น่าสนใจซึ่งมีการตอบสนองต่อการอักเสบ จากผลการคัดเลือกทำให้ได้ยีน SOCS3 ที่ผ่านยืนยันผลในระดับห้องปฏิบัติการโดยการตรวจวัดระดับการแสดงออกด้วยเทคนิค real-time PCR ซึ่งยีน SOCS3 นี้เป็นยีนที่จะแสดงออกเป็นโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมในเชิงลบของการตอบสนองในระบบภูมิคุ้มกัน กล่าวโดยสรุปนั้นชีววิทยาเชิงระบบสามารถนำมาใช้ในการค้นหาองค์ความรู้ใหม่ภายใต้การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ภายใต้วิธีการพื้นฐานทั่วไป ซึ่งนำไปสู่การค้นพบกลุ่มยีนใหม่จากชุดข้อมูลไมโครอาร์เรย์ที่ทำให้สามารถนำมาสร้างโมเดลเพื่อทำความเข้าใจกลไกในระดับโมเลกุลของการตอบสนองการอักเสบได้th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectชีววิทยาเชิงระบบth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleชีววิทยาเชิงระบบสำหรับสืบค้นกลไกการตอบสนองต่อการอักเสบในเซลล์แมคโครฟาจของหนูth_TH
dc.title.alternativeSystems biology for inveatigating the mechanism of inflammatory response in murine macrophageen
dc.typeResearch
dc.author.emailpitak@buu.ac.th
dc.author.emailklaokwan@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeMacrophage RAW264.7 stimulated with LPS is a model to learn about the mechanism of inflammation. It was used by several research groups for testing anti-inflammatory compounds by using microarray technology. This technique can simultaneously detect the response on whole cell in interesting condition by measurement of mRNA levels. There was a huge of submitted microarray datasets of LPS-stimulated macrophage in public database. These data can be used for analysis with several bioinformatics tools or system biology approach to investigate the mechanism of inflammatory response in murine macrophage. Gene selection, co-expression network, gene regulatory network, biological data integration, and biological interpretation techniques were used in this study for finding some interested modules and their responsive genes. One selected inflammatory responsive gene, SOCS3, has already validated with real-time PCR to measure its expression level on time-series. SOCS3 is gene that encoded for suppressor of cytokine signaling protein which is negative regulator of immune responses. In conclusion, system biology can be used to discovered more knowledge which are concealed under a huge of data that cannot be found by conventional methods. This leads to find a novel responsive gene from the traditional public microarray data that make a new model for understanding the mechanism of inflammatory responseen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_023.pdf22.26 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น