กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1833
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจตุภัทร เมฆพายัพ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1833
dc.description.abstractตัวแปรที่มีผลต่อค่าความเข้มข้นของ PM10 นั้นมีอยู่มากมายในบรรยากาศซึ่งตัวแปรเหล่านี้อาจมี ความสัมพันธ์กันเอง การดึงปัจจัยด้วยวิธีส่วนประกอบหลักของการวิเคราะห์ปัจจัยจึงเป็นวิธีที่ช่วยกําจัดปัญหา การมีพหุสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระได้ ทําให้สามารถทํานายค่าความเข้มข้นของ PM10 ด้วยการวิเคราะห์การ ถดถอยได้ ดังนั้นวิธีการถดถอยส่วนประกอบหลักจึงถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทํานายค่าความเข้มข้นของ PM10 ในเขต อุตสาหกรรม ภาคตะวันออกของประเทศไทย สําหรับการวัดดัชนีสมรรถนะของตัวแบบการถดถอยส่วนประกอบ หลักเพื่อทํานายค่าความเข้มขน้ของ PM10 จะประเมินค่าได้ด้วยรากที่สองของค่าคลาดเคลื่อนกําลังสองเฉลี่ย ผล การศึกษาพบว่ามีตัวแปรใหม่ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยจํานวน 5 ตัว (ออกไซด์ของก๊าซไนโตรเจน ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์และก๊าซโอโซน ก๊าซไฮโดรคาร์บอนและก๊าซมีเทน ความดัน และก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ ความเร็วลม) ที่มีอิทธิพลและถูกเลือกมาเป็นตัวแปรอิสระเพื่อใช้ทํานายค่าความเข้มข้นของ PM10 โดยมีสมการ ประมาณค่าการถดถอยพหุคูณดังนี้ Y = 1.27+0.0405NOx +0.129CO & o3+ 0.0590 HC & CH4 + 0.0585Pressure + 0.0114SO2 & WS เมื่อ Y = log (PM10) สมการดังกล่าวนี้เป็นสมการที่มีการปรับแก้เพื่อให้เป็นไปตามข้อสมมุติของการวิเคราะห์ การถดถอยโดยให้ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการประมาณค่าเท่ากับ 0.213454 ส่วนค่าดัชนีสมรรถนะของตัว แบบพบว่าให้ค่ารากที่สองของค่าคลาดเคลื่อนกําลังสองเฉลี่ยเท่ากับ 0.157776 และ 8.77367 สําหรับชุดข้อมูล ในการสร้างตัวแบบและชุดข้อมูลในการตรวจสอบความถูกต้องของตัวแบบ ตามลําดับth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได ้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ปัจจัยth_TH
dc.subjectมลสารth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการทํานายค่าความเข้มข้นของ PM10 ในเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออกของประเทศไทยด้วยวิธีการถดถอยส่วนประกอบหลักth_TH
dc.title.alternativePrediction of PM10 concentration in the eastern industrial areas of Thailand with principal component regression method.en
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThere are various variables in the atmosphere affected to the PM10 concentration. All these variables may have been correlated to each others so the principal component extraction of factor analysis is helpful to eliminate multicollinearity problem then the method of regression analysis can be used later to predict the PM10 concentration. The principal component regression method was then developed for predicting the PM10 concentration in the eastern industrial areas of Thailand. The performance index of prediction PM10 concentration model was evaluated with the root mean square error (RMSE). The results of study indicated the new five influential variables (NOX, CO&O3, HC& CH4, Pressure and SO2&WS) from factor analysis were selected to predict the PM10 concentration. The estimated multiple regression equation was then displayed as Y = 1.27+0.0405NOx +0.129CO & o3+ 0.0590 HC & CH4 + 0.0585Pressure + 0.0114SO2 & WS where Y = log (PM10). This equation was rectified in conformity with regression assumptions as well as the standard error of estimation valued 0.213454. Furthermore, the performance index of model provided the RMSE values equal to 0.157776 and 8.77367 for the training and validation data set, respectively.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2565_206.pdf1.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น