กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1820
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1820
dc.description.abstractงานวิจัยนี้พัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อทานายการแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบ-เปลือกไม้ในสภาวะแวดล้อมทะเล โดยสร้างแบบจำลองจากข้อมูลการแทรกซึมของคลอไรด์ ที่ได้จากตัวอย่างคอนกรีตที่แช่ในน้ำทะเลเป็นเวลา 2, 3, 5, 7 และ 9 ปี ในการสร้างแบบจำลองใช้หลักการการวิเคราะห์เชิงถดถอยแบบพหุคูณ ในกฏการแพร่ข้อที่ 2 ของฟิคส์ ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน (ในช่วง 0.45 ถึง 0.65), ปริมาณเถ้าแกลบ-เปลือกไม้ในคอนกรีต (ร้อยละ 0 ถึง 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน), ระยะจากผิวหน้าคอนกรีต และระยะเวลาในการแช่คอนกรีต (มากกว่า 2 ปี) ผลที่ได้จากแบบจำลองคือ ปริมาณคลอไรด์ทั้งหมด (โดยน้ำหนักวัสดุประสาน) ในคอนกรีตที่ตำแหน่งต่าง ๆ จากผิวหน้าคอนกรีต ผลการใช้แบบจำลองเมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลการแทรกซึมของคลอไรด์ที่ใช้สร้างแบบจำลอง พบว่า ปริมาณคลอไรด์จากการทำนายมีค่าคลาดเคลื่อนอยู่ในช่วงร้อยละ 30 และผลการทำนายของคอนกรีตผสมเถ้าแกลบ-เปลือกไม้ในปริมาณไม่เกินร้อยละ 35 มีความถูกต้องมากกว่าคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบ-เปลือกไม้ร้อยละ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน นอกจากนั้นได้มีการเปรียบเทียบผลการทำนายการแทรกซึมของคลอไรด์กับงานวิจัยอื่น โดยพบว่าปริมาณคลอไรด์จากการทำนายส่วนใหญ่มีค่าคลาดเคลื่อนอยู่ในช่วงร้อยละ 35th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectเถ้าแกลบth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อมทางทะเลth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleแบบจำลองเพื่อทำนายการแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้โดยใช้ฐานข้อมูลที่แช่คอนกรีตในสภาพแวดล้อมทะเลถึง 9 ปีth_TH
dc.title.alternativeThe proposed model to predict the chloride penetration in concrete containing rice husk-bark ash based on 9-year exposure in marine siteen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeIn this study, a mathematical model for predicting chloride penetration in concrete containing ground rice husk-bark ash (GRBA) in a marine environment is developed. The empirical model was based on 2, 3, 5, 7, and 9-year investigation of concretes in a marine site. Multiple regression analysis of the data was carried out by applying Fick’s second law of diffusion to generate an empirical formula for predicting chloride concentration in concrete. Input variables are W/B ratios (ranging from 0.45 to 0.65), GRBA contents (0 to 50%), distance from the concrete surface, and exposure time (beyond 2 years). The output presents the total chloride concentration (% by weight of binder) at any position from the concrete surface. Model validation revealed that the predicted chloride concentration levels were within a 30% error margin in the samples used to generate the model. The predicted results in concrete with GRBA as high as 35% were more accurate than the concrete with 50% GRBA. The model was also verified using data from previous researches. Most predicted chloride concentration levels were within a 35% margin of error from test results.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_203.pdf3.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น