กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1778
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจันทร์ชลี มาพุทธ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:41Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:41Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1778
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัถตุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต ระดับอุดมศึกษา และเปรียบเทียบและการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษา ระหว่างกลุ่มทดลองสอนแบบใช้กิจกรรม กับกลุ่มควบคุมสอนแบบบรรยาย กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน กลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและจดบันทึก สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านเรียงลำดับจากน้อยไปมาก ได้แก่ ด้านการดูสุขภาพ ด้านการแต่งกาย ด้าน เศรษฐกิจและการใช้จ่ายของนิสิตอยู่ในระดับปานกลาง 2. การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษาระหว่างกลุ่มทดลองแบบใช้ กิจกรรมกับกลุ่มควบคุมสอนแบบบรรยาย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2559en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeStudents' ways of life with the philosophy sufficiency economy in higher educationen
dc.typeResearch
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) students’ ways of with the philosophy of sufficiency economy in higher education. The sample were 400 students. The instruments used to collect data were Questionnaires. 2) student’ ways of life with the philosophy of sufficiency economy in higher education between experimental group by activities and control group by lecture. The experiments group composed of 30 students and control group composed of 30 students. The instruments used to collect data were questionnaires and note-taking. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deveiation, t-test independent and content analysis. Research finding were as follow: 1. The overall students’ ways of life with the philosophy of sufficiency economy in higher education has the moderate average. Health care, the dress, economic and expense have the moderate average 2. The student’ ways of life with the philosophy of sufficiency economy in higher education between experimental group by activities and control group by lecture were different at .01.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_250.pdf9.8 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น