กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1765
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ | th |
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ รัฐกุล | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:40Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1765 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสุขของนิสิต ความสุขใจของนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นิสิตคณะศึกษาศาสตร์ จำนวน 347 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดประกอบด้วย 1) ข้อมูลทั่วไปของนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ ประกอบด้วย เพศ ชั้นปีที่ศึกษา และเกรดเฉลี่ยสะสม 2) แบบสอบถามความสุข มีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 3) แบบสอบถามต้นทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก 4) แบบสอบถามการเผชิญความเครียด และ 5) แบบสอบถามความสัมพันธ์กับความครัวและเพื่อน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่า t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์ถดถอยพหุคุณ แบบ Stepwise ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) นิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มีความสุขโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) นิสิตกลุ่มที่มีต้นทุนจิตวิทยาเชิงบวกสูง จะมีความสุขมากกว่า กลุ่มที่มีต้นทุนจิตวิทยาเชิงบวกต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นิสิตกลุ่มที่มีความสัมพันธ์กับครอบครัวและเพื่อนสูงจะมีความสุขมากกว่า กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กับครอบครัวและเพื่อนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นิสิตกลุ่มที่มีการเผชิญความเครียดสูง จะมีความสุขมากกว่า กลุ่มที่มีการเผชิญความเครียดต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 5) ตัวพยากรณ์ที่ดีและสามารถพยากรณ์ความสุขใจในการเรียนของนิสิตคือ การเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ไขปัญหา (X1), ต้นทุนจิตวิทยาเชิงบวกความสามารถในการเผชิญปัญหา (X2), ชั้นปีที่ 4 (X3), นิสิตหญิง (X4), ต้นทุนจิตวิทยาเชิงบวกด้านความฟื้นตัว (X5) และชั้นปี 1 (X6) โดยสามารถ พยาการณ์ ความสุขใจในการเรียนของนิสิตได้ ร้อยละ 43.60 | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยสถาบัน ตามความต้องการของคณะศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ความสุขใจ | th_TH |
dc.subject | นิสิต | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสุขใจของนิสิตระดับปริญญาตรีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Happiness of undergraduate students in faculty of Education at Burapha University | en |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was study the happiness of undergraduate students in Faculty of Education Burapha University. The research sample were 347 undergraduate students. The instruments used for data collection were 6 questionnaires 1) bio-social characteristic check list, 2) Happiness questionnaire, 3) Positive psychological capital questionnaire, 4) Coping stress questionnaire, and 5) Family and Friends relationship questionnaire. Data was analyzed by independent t-test, One way ANOVA and Stepwise multiple regression. The results revealed that 1) the subjects had high level of happiness 2) the subjects who respondents positive psychological capital highly related to happiness (p<.05) 3) the subjects who respondents coping stress highly related to happiness (p<.05) 4) the subjects who respondents family and friends relationship highly related to happiness (p<.05) and 5) The results showed that coping stress (problem solving domain), positive psychological capital (coping domain), 4th year students, female students, work life balance (resilience domain), organization commitment (normative domain), and 1st year students were more powerful predictors of happiness of undergraduate students at 43.60% | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น