กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1753
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เพ็ญนภา กุลนภาดล | |
dc.contributor.author | วัชรพล เปรมกมล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:39Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:39Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1753 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ที่มีต่อเอกลักษณ์คณะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ บุคลากรสังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อเอกลักษณ์คณะตามเกณฑ์ประเมินตัวบ่งชี้ สมศ ที่ 17 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นอาจารย์ ร้อยละ 59.8 เพศหญิง ร้อยละ 52.86 อายุงานระหว่าง 6-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.17 ระดับการศึกษา ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 70.21 ความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ที่มีต่อเอกลักษณ์คณะ อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.55, SD = 0.89) ประเด็นการกำหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานพัฒนานิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สื่อสวารเป็นเลิศ ประเสริฐน้ำใจ วินัยชั้นครู ดูแลสุขภาพ มีคะแนนความพึงพอใจ ในระดับสูงสุด (Mean = 3.84, SD = 0.9 ส่วนประเด็นที่มีความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ที่มีต่อเอกลักษณ์คณะ อยู่ในระดับต่ำสุดคือ ประเด็นการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และมีการปรับปรุงการดำเนินงานเป็นรูปธรรมเพื่อสรา้งเอกลักษณ์ "เป็นแหล่งเรียนรู้ศาสตร์ทางการศึกษาของประชาคมอาเซียน (Mean = 3.3, SD = 0.87) เมื่อผู้วิจัยวิเคราะห์ประเด็นตามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มีต่อการดำเนินงานเสริมสร้างเอกลักษณ์คณะ พบว่ามีบุคลากรที่แสดงความคิดเห็นในประเด็นนี้ จำนวน 83 คน สรุปเป็นประเด็นที่สำคัญได้ 6 ประเด็น โดยปัญหาเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ มีความถี่มากเป็นลำดับที่ 1, ลำดับที่ 2 ความชัดเจนของเอกลักษณ์คณะ, ลำดับที่ 3 นโยบายที่เป็นรูปธรรม, ลำดับที่ 4 การพัฒนาและฝึกอบรมให้นิสิตและบุคลากร, ลำดับที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของระบบบริหาร, ลำดับที่ 6 อื่น ๆ เช่น ต้องการให้มีผู้รับผิดชอบโดยตรง | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนส่งเสริมการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ความพึงพอใจ | th_TH |
dc.subject | บุคลากร | th_TH |
dc.subject | เอกลักษณ์ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มีต่อการดำเนินงานเสริมสรา้งเอกลักษณ์ของคณะ | th_TH |
dc.title.alternative | The study satisfaction of educational faculty's personnels, Burapha University toward the strengthening of faculty identity | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to study a satisfaction of personnel on the Faculty's identity 2) to their knowledge on identity. The sample was 117 people which is derived from 166 staff of the Faculty. The instrument was a questionnaire on satisfaction of the staff regarding the identity of the Faculty based on the indicator 17 th of ONESQA. The questionnaire consists of 3 parts, part 1 was a general information of the respondents included age, sex, period of employment and level of education, part 2 was a satisfaction on the identity and part 3 was comments or suggestions. The results were as follow; 1. The numbers of the respondents were 117. Most of them were instructor (59.8%) And the officers 47, most of them were female (78.72%). In a group of the instructor most of them were female (52.86%), had a period of employment between 1-5 years and graduated at a doctoral level 82.86%. In a group of the officers most of them had a period of employment between 6-10 year (36.17%) and graduated at bachelor degree (70.21%).2. The satisfaction on the identity of the Faculty was in moderate (Mean = 3.24, SD = 1.17). The highest item was 14th with mean =3.58, sd 1.19 (To defining strategies in a development of students' performance to be excellence in communications, gracious, disciplinary and health care). Followed by 11 th with mean = 3.51, SD =1.19 (To be a learning resource in science of education in ASEAN community). The lowest item was "The monitoring and evaluating the implementation and improvement of the concrete operating to establish identity as " to be an education science resource of the ASEAN community", found in moderate with ,ean = 2.96, SD = 1.111 3. The staff has provided suggestions in 6 issues; the public relations, the clarity of identity, the perceptible policy, a develpment and training for students and employers, the change of management system and other. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น