กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17452
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุวรรณา ภาณุตระกูล-
dc.contributor.authorนงนุช ตั้งเกริกโอฬาร-
dc.date.accessioned2025-03-17T06:35:55Z-
dc.date.available2025-03-17T06:35:55Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17452-
dc.description.abstractทำการศึกษาเปรียบเทียบความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ได้แก่ ความเค็ม ความเป็นกรด-ด่าง และความขุ่นของกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) และกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) ระยะ postlarva และระยะ juvenile โดยใช้เทคนิคการทดสอบความเป็นพิษแบบเฉียบพลัน และการวัดอัตราการบริโภคออกซิเจนของกุ้ง พบว่า ค่า LC50 ของความเค็มของกุ้งขาว และกุ้งกุลาดำ ระยะ postlarva มีค่า 0.42 และ 1.22 ppt ที่ช่วงความเค็มต่ำ และมีค่า 30.23 และ 32.42 ppt ที่ช่วงความเค็มสูง ส่วนค่า LC50 ของความเค็มของกุ้งขาวและกุ้งกุลาดำ ระยะ juvenole มีค่า 0.0.02 และ 0.52 ppt ที่ช่วงความเค็มต่ำ และมีค่า 44.85 และ 43.08 ppt ที่ช่วงความเค็มสูง ค่า LC50 ของความเป็นกรด-ด่างของกุ้งขาว และกุ้งกุลาดำ ระยะ postlarva มีค่า 4.96 และ 4.56 ที่ช่วงความเป็นกรด-ด่างต่ำ และมีค่า 9.37 และ 8.71 ที่ช่วงความเป็นกรด-ด่างสูง ค่า LC50 ของความเป็นกรด-ด่างของกุ้งขาวและกุ้งกุลาดำ ระยะ juvenile มีค่า 5.11 และ 5.70 ที่ช่วงความเป็นกรด-ด่างต่ำ และมีค่า 8.76 และ 9.51 ที่ช่วงความเป็นกรด-ด่างสูง การเปลี่ยนแปลงความเค็มและความเป็นกรด-ด่าง มีผลทำให้อัตราการบริโภคออกซิเจนของกุ้งทั้งสองชนิดที่ระยะ postlarva สูงกว่ากุ้งทั้งสองชนิดในระยะ juvenile ที่ทุกความเค็มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในขณะที่กุ้งกุลาดำที่ระยะ juvenile มีอัตราการบริโภคออกซิเจนที่ต่ำกว่ากุ้งขาวที่ช่วงความเค็มสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่ากุ้งขาวและกุ้งกุลาดำความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็ม และความเป็นกรด-ด่างในช่วงที่กว้างมากและมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตได้ดีในระบบนิเวศลุ่มแม่น้ำบางปะกงและชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทยth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้งขาว -- การเพาะเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งขาว -- การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectกุ้งขาว -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleความทนทานและการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมของกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei)th_TH
dc.title.alternativeTolerancd and response of pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei) on changing environmental conditionsth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2549th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2568-179.pdf2.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น