กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17449
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธีรพงษ์ บัวหล้า
dc.date.accessioned2025-03-12T08:43:30Z
dc.date.available2025-03-12T08:43:30Z
dc.date.issued2567
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17449
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในองค์การที่มีต่อ บุคลากรออทิสติกที่บรรจุให้ (2) วิเคราะห์ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ความล้มเหลว) ในการกล่อมเกลาทางสังคมใน องค์การที่มีต่อบุคลากรออทิสติกที่ และ (3) เสนอแนะแนวทางการกล่อมเกลาทางสังคมในองค์การที่มีต่อ บุคลากรออทิสติก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยแบบคำถามสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้างตามแนวทาง ปรากฏการณ์วิทยา ผลการวิจัยที่ได้จากผู้บริหาร หัวหน้างาน/ ผู้ควบคุมงาน เพื่อนร่วมงาน บุคลากรออทิสติกที่บรรจุใหม่ และผู้ปกครอง/ครอบครัว ชี้ให้เห็นว่า การช่วยเหลือบุคลากรออทิสติกให้ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้และ ปรับตัวให้เข้ากับองค์การต้องอาศัย (1) ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ของกลุ่มเพื่อนร่วมงานทุกระดับในเรื่อง อาการออทิสติก (2) การช่วยเหลืออย่างสมเหตุสมผลในเวลาทำงาน (3) ระดับการศึกษาของบุคลากรออทิสติก และ (4) บทบาทของผู้ปกครอง/ ครอบครัว ผลการวิจัยสนับสนุนแนวคิดการช่วยเหลืออย่างสมเหตุสมผลในเวลาทำงาน ให้แก่บุคลากรออทิสติก และสนับสนุนทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคม ทฤษฎีวุฒิปัญญาทางสังคม และ ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนระหวาง ผู้นำและสมาชิกในองค์การ และผลการวิจัยเสนอแนะให้ผู้กำหนดนโยบายสาธารณะ และผู้บริหารองค์การ ส่งเสริมสนับสนุนให้องค์การเปิดกว้างยอมรับความหลากหลายในระบบประสาทและการทำงานสมองผ่านกลไก การกล่อมเกลาทางสังคมในองค์การเพื่อรักษาบุคลากรออทิสติกให้คงอยู่ในตำแหน่งงานอย่างยั่งยืนต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipคณะรัฐศาสตร์และนิติสาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์th_TH
dc.subjectออทิสติกth_TH
dc.subjectออทิซึมth_TH
dc.titleการกล่อมเกลาทางสังคมในองค์การที่มีต่อบุคลากรออทิสติกth_TH
dc.title.alternativeOrganizational socialization toward employees with autismth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2567th_TH
dc.description.abstractalternativePutting forward a qualitative method of phenomenology by in-depth semi-structured interviews, this research sought to (i) examine organizational socialization process toward employees with autism spectrum disorder (ASD), (ii) analyze key success/ failure factors affecting the organizational socialization process, and (iii) recommend an appropriate organizational socialization process toward employees with ASD. Findings from the face-to-face interviews with managers, supervisors, coworkers, employees with ASD and their parents/ families reveal that helping employees with ASD become successfully socialized and included in workplace relies on (i) previous practical knowledge of colleagues about ASD, (ii) reasonable accommodation at work, (iii) education levels of new hires with ASD and (iv) parental involvement. Findings also contribute to reasonable accommodation at work in practice and Social Exchange Theory, Social Cognitive Theory, and Leader-member Exchange Theory. The author recommends that policy shapers, and employers undertake a leading role in promoting workplace neurodiversity inclusion through appropriate organizational socialization process to sustain employment status of employees with ASD.th_en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2568-172.pdf2.71 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น