กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1728
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธิดารัตน์ น้อยรักษา | |
dc.contributor.author | Hisao Ogawa | |
dc.contributor.author | วิภูษิต มัณฑะจิตร | |
dc.contributor.author | National Taiwan Ocean University. | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:37Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:37Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1728 | |
dc.description.abstract | สาหร่ายทะเลสีน้ำตาลสกุล Sargassum ในประเทศไทยนับว่าเป็นสาหร่ายที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีการแพร่กระจายทั้งทะเลฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน จึงมีความสาคัญต่อระบบนิเวศชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสาหร่าย Sargassum oligocystum จากต้นอ่อนเพื่อชักนำให้เกิดยอดจำนวนมาก โดยใช้อาหารเลี้ยงพรรณไม้น้ำ Plant Nutrition+ liquid (Tropica® AQUACARE, www.tropica.com) ที่ความเค็ม 25, 30 และ 35 psu ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโต 6-Benzylaminopurine (BA), 2,4- Dichlorophenoxyacetic acid (2,4-D) และ 1-Naphthaleneacetic acid (NAA) ระดับความเข้มข้น 0, 1, 5, 10 และ 15 μM การทดลองละ 4 ซ้ำ ภายใต้สภาวะอุณหภูมิ 25 ºc ความเข้มแสง 85 μmol photons m-2s-1 โดยให้แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน หลังจากเพาะเลี้ยง 10 สัปดาห์ ผลการวิเคราะห์ Chi-square test พบว่า ความเค็มและสารควบคุมการเจริญเติบโตมีผลต่อการเกิดยอดอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.05) ต้นอ่อนที่เพาะเลี้ยง ในอาหารความเค็ม 35 psu ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโต BA 10-15 μM และ 2,4-D 1-5 μM สามารถชักนำให้เกิดยอดได้ดีกว่าความเค็ม 25 และ 30 psu การเพาะเลี้ยงแผ่นใบขนาดกว้าง 3-5 mm เพาะเลี้ยงที่ความเค็ม 35 psu ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโต BA, 2,4-D และ NAA ที่ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ หลังจากเพาะเลี้ยง 12 สัปดาห์ ผลการวิเคราะห์ Two-way ANOVA พบว่าชนิดของสารควบคุมการเจริญเติบโตมีผลต่อการชักนำให้เกิดยอดอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.05) BA และ NAA สามารถชักนำให้เกิดยอดได้ดีกว่า 2,4-D สำหรับอาหารเพาะเลี้ยงที่ ประกอบด้วย BA ร่วมกับ NAA สามารถชักนำให้เกิดยอดได้ดีกว่า BA ร่วมกับ 2,4-D การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสกุล Sargassum นอกห้องปฏิบัติการ ต้นอ่อนที่เพาะเลี้ยงด้วยน้ำะเลมีการเจริญเติบโตจำเพาะสูงกว่าต้นอ่อนที่เพาะเลี้ยงด้วยน้ำทะเลร่วมกับปุ๋ยยูเรีย 4 gm-3 มีการเจริญเติบโตจำเพาะ สูงสุด 2.68±0.17 % day-1 ในวันที่ 14 ของการเพาะเลี้ยง | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การเลี้ยง | th_TH |
dc.subject | สาหร่ายสีน้ำตาล | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสีน้ำตาล สกุล Sargassum C. Agardh (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี) | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2558 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_115.pdf | 26.41 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น