กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1719
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorดวงตา จุลศิริกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:36Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:36Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1719
dc.description.abstractแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera tau เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญที่ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นอย่างมากต่อผลผลิตของ พืชตระกูลแตงหลายชนิด เช่น บวบ แตงกวา มะระ ฟักทอง ฟักข้าว ตำลึง จากการศึกษาพบว่า B. tau เป็นแมลงวันผลไม้สายพันธุ์ซับซ้อน (complex species) มีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง และต้องการการตรวจสอบในรายละเอียดเพิ่มเติมทั้งในด้านนิเวศวิทยา พันธุศาสตร์ และความหลากหลาย เพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการควบคุม การจัด งานวิจัยนี้ใช้เทคนิค PCR-SSCP โดยใช้ยีน mtCOI ร่วมกับข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เพื่อศึกษาโครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรแมลงวันผลไม้ B. tau สายพันธุ์ C จาก 8 กลุ่มประชากร ในประเทศไทย ผลการศึกษาในขั้นต้นพบว่า เทคนิค PCR-SSCP สามารถใช้เพื่อตรวจสอบความแปรผันทางพันธุกรรมของแมลงวันผลไม้ชนิด B. tau C ได้เป็นอย่างดี โดยตรวจสอบพบรูปแบบ SSCP haplotype ทั้งหมด 17 รูปแบบ โดยมี 3 รูปแบบ (E S และ T) พบเฉพาะประชากรในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อนาผลการศึกษาที่ได้ไปวิเคราะห์โครงสร้างทางพันธุกรรมโดยใช้การวิเคราะห์ AMOVA พบว่า โครงสร้างทางพันธุกรรมของแมลงวันผลไม้ชนิด B. tau C จาก 8 ประชากรในประเทศไทยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ (P = 0.000) แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่ระยะห่างทางภูมิศาสตร์ ระหว่างภาคใต้ กับภาคอื่น ๆ ในประเทศไทย อาจเป็นปัจจัยกีดกั้นการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน ซึ่งอาจนาไปสู่การแยกเป็นสายพันธุ์ใหม่ได้ The fruit fly, Bactrocera tau, is the important pest of the Cucurbitaceae plants. Several studies showed that B. tau potential to be a species complex consisted of several species. The ecology, genetics and diversity of this pest species need to be investigated in more detail as information for biological control program. In this study, the population genetic structure of 8 populations of B. tau C in Thailand was analyzed by PCR-SSCP of mtCOI gene. The initial results showed that SSCP technique can be used as a molecular tool to investigate genetic variation in B. tau C populations. A total 17 SSCP haplotype patterns are found in this study, with haplotype E, S and T are specifically found in Satun population in southern part of Thailand. The AMOVA showed that genetic structures of 8 B. tau C populations in Thailand are significantly different (P = 0.000). The results provide genetic divergence of B. tau C and support the hypothesis that long geographical distance between southern part of Thailand and other regions may be a factor that interrupts their gene flow lead to a new species evolved under B. tau complex.th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพันธุศาสตร์th_TH
dc.subjectแมลงเบียนth_TH
dc.subjectแมลงวันผลไม้th_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleความหลากหลายทางนิเวศวิทยาและพันธุศาสตร์ของแมลวันผลไม้ Bactrocera tau complex กับแมลงเบียนที่สัมพันธ์ด้วยในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeEcological and genetic diversity of fruit flies, Bactrocera tau complex and their associated parasitoids in Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.year2558
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_128.pdf812.62 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น