กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1714
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภรดี พันธุภากร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:36Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:36Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1714 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยเซรามิคน้ำดอกไม้ : การเชื่อมโยงภูมิปัญญาทางด้านเครื่องหอมกับงานศิลปะเซรามิค มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นคว้า ทดลองเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางด้านเครื่องหอมประเภทน้ำปรุงดอกไม้เพื่อผสมผสานเชื่อมโยงกับการสร้างสรรค์ศิลปะเซรามิค ช่างเครื่องหอมในอดีตได้เรียนรู้การคัดสรรดอกไม้ พันธุ์ไม้ และวัตถุดิบต่างๆ ในธรรมชาติ มาปรุงแต่งด้วยวิธีการอบ ร่ำ สกัด และปรุง เพื่อให้ได้เครื่องหอมใช้ในการประทินผิว ประทินโฉม อบผ้า เป็นการรักษาโรค เป็นสุคนธบำบัด และใช้ในพิธีกรรม จากการศึกษาทดลองได้เลือกน้ำปรุงกลิ่นดอกบัวมาใช้ในรูปแบบของกลีเซลรีนหอม เจลหอม น้ำปรุงดอกไม้หอม เทียนหอม และบุหงา โดยเชื่อมโยงกับงานศิลปะเซรามิคด้วยแนวคิดการแทนค่าจากดอกไม้ ความหอมหวานสดชื่น ความบอบบาง โดยใช้ดินโบนไชน่าสีขาวเคลือบใสบางส่วน เผาในอุณหภูมิ 1,230 องศาเซลเซียส ด้วยรูปทรงแบบธรรมชาติ อิสระ การใช้เส้นขมวด โค้ง และลื่นไหล ใช้สีผสมเครื่องหอมด้วยสีสันที่อ่อนบางเบาในกลุ่มเหลือง เขียว ชมพู ม่วง โดยมีผลงาน 6 ชุด คือ ชุดน้ำดอกไม้ สะพรั่ง แย้มกลีบ แย้มบาน ลาร่วง และในกระถาง ทั้งนี้ผู้ดูผู้ชมสามารถรับรู้คุณค่าของผลงานด้วยทัศนสัมผัส และนาสิกสัมผัส เพื่อให้ประทับในความทรงจำ เกิดความอิ่มเอมใจ รับรู้จากภาษาศิลป์อันเป็นมิติที่ 4 ที่ปรากฏในงานเซรามิคน้ำดอกไม้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญา | th_TH |
dc.subject | เซรามิค | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | เซรามิคน้ำดอกไม้: การเชื่อมโยงภูมิปัญญาทางด้านเครื่องหอมกับงานศิลปะ | th_TH |
dc.title.alternative | Scented ceramics: A blend of perfume wisdom and ceramic Art | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The main purpose of this research “Scented Ceramics: A Blend of Perfume Wisdom and Ceramic Art” is to study and experiment with the folk wisdom on traditional floral perfume in wishing to blend it with ceramic art. Perfumery specialists in the old days learnt how to select certain kinds of plants and flowers, and various raw materials from nature to be processed, fermented, extracted, and mixed to become perfume for various purposes, including cosmetics, scented textiles, aromatherapy, and also ritual use. Experiments have been carried out with lotus-scented water in the forms of aromatic glycerin, gel, candle, scented water, and pot pourri, which were blended with ceramic art under the concept of a floral substitute. The refreshing sweetness and fragility of flowers is represented through the use of white bone china clay with partly clear glaze, fired at the temperature of 1,230 degrees Celsius into free-form and natural shapes, with rolling spiral lines and curves, using soft, pale colors in the yellowish, greenish, pinkish, and purplish tones. There are totally 6 sets of work pieces; namely, Scented Ceramic, Blossoms, Opening, Full Bloom, Falling, and In the Pot. Viewers may appreciate the work pieces with both visual and nasal touches to gain a deep impression and delighted feeling from the 4th dimension of the art language communicated through the scented ceramics. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_111.pdf | 11.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น