กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1699
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อาภรณ์ ดีนาน | th |
dc.contributor.author | สมสมัย รัตนกรีฑากุล | th |
dc.contributor.author | วชิราภรณ์ สุมนวงศ์ | th |
dc.contributor.author | สงวน ธานี | th |
dc.contributor.author | ชัชวาล วัตนะกุล | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:35Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:35Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1699 | |
dc.description.abstract | การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจทาให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาของหลอดเลือดและหัวใจสามารถลดภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ ทุเลาความรุนแรง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและส่งเสริมคุณภาพชีวิต การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงทดลองแบบวัดก่อนและหลังทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบผลของโปรแกรมลดความ เสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจ ได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อ หัวใจขาดเลือดและผู้ป่วยโรคหัวใจวาย คณะวิจัยพัฒนาโปรแกรมการลดความเสี่ยงต่อสุขภาพและ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตจากการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งมีเนื้อหาหลักเป็นการชี้แนะด้านสุขภาพ หลังจากนั้นนาไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และผู้ป่วยโรคหัวใจวาย กลุ่มละ 30 ราย โดยให้กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมโปรแกรมนาน 4 สัปดาห์ ๆ ละ 2 ครั้ง เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามภาวะสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรม สุขภาพ แบบสอบถามคุณภาพชีวิตและอุปกรณ์นับก้าว (Garmin, Viofit) วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและ ผู้ป่วยโรคหัวใจวายมีคะแนนพฤติกรรมสุขภาพทุกด้าน คะแนนคุณภาพชีวิตและจำนวนก้าวเดินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) แต่ในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง พบว่า จำนวนก้าวเดินคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้นในขณะที่พฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนแปลงบางด้านเท่านั้น ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจที่สร้างขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์นี้ สามารถนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้ดีและให้ผลลัพธ์ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ การเพิ่มสมรรถภาพร่างกายและเพิ่มคุณภาพชีวิตได้ดี ดังนั้นบุคลากร ทางด้านสุขภาพสามารถนาโปรแกรมการลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจนี้ไปใช้ในคลินิค แต่เนื่องจากข้อจำกัดของการวิจัยในครั้งนี้ที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กและยังขาดการติดตามผลระยะยาว ดังนั้น การวิจัยครั้งต่อไปจึงควรศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ขึ้นและเป็นระยะเวลา ยาวนานขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | แผนงานวิจัยนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัย จากงบประมาณรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การลดปัจจัยเสี่ยง | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | th_TH |
dc.subject | โรคหัวใจ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจ | th_TH |
dc.title.alternative | Risk reduction and ๆuality of life improvement of heart disease people | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | Cardiac rehabilitation program can prevent complication, reduce disease progression and severity, and improve quality of life among coronary heart disease people. The objectives of this pre-posttest experimental study were to develop and evaluate cardiac rehabilitation program for hypertensive persons, myocardial infraction persons, and congestive heart failure persons based on evidenced base practice. Based on evidences, health coach was integrated into the program and applied to 30 hypertensive persons, 30 myocardial infraction persons, and 30 congestive heart failure persons, and congestive heart failure persons. The participants were invited in the 4 - week health coach program. Instruments included demographic, perceived health, health behaviors, and quality of life questionnaires as well as step counts (Garmin, Viofit). Data were analyzed by descriptive statistics and paired t-test. Results revealed that the groups of myocardial infraction persons and congestive heart failure persons reported statistically increasing in functional performance (Step counts/week), quality of life, and all dimensions of health behavior (p<.05). However, hypertensive persons reported statistically increasing functional performance (Step counts/week), quality of life, and only some dimensions of health behavior (p<.05) From research results, health coach program for coronary heart diseases yielded good outcomes to modify health behaviors. Therefore, health care providers should apply this program in clinics. However, with the limitation of small sample size and short period of program utilization, further research should focus on larger sample size and longitudinal outcomes. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_029.pdf | 555.69 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น