กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1676
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภูสิต กุลเกษม | th |
dc.contributor.author | สุวรรณา รัศมีขวัญ | th |
dc.contributor.author | เบญจภรณ์ จันทรกองกุล | th |
dc.contributor.author | กฤษณะ ชินสาร | th |
dc.contributor.author | อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์ | th |
dc.contributor.author | ชิดชนก เหลือสินทรัพย์ | th |
dc.contributor.author | อภิเชษฐ์ ยาใจ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:33Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:33Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1676 | |
dc.description.abstract | การล้มถือเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมานักวิจัยต่างพัฒนาระบบการตรวจจับการล้มในรูปแบบของ การวิเคราะห์ผลจากภาพ โดยจะระบุสถานะของการล้มได้เมื่อผู้ล้มได้ล้มลงไปบนพื้นแล้ว งานวิจัยชิ้นนี้นำเสนอเทคนิคใหม่สำหรับตรวจจับการล้ม ชื่อ “กล่องขอบเขตแบบทิศทาง” หรือ Directional Bounding Box (DBB) ที่สามารถตรวจจับการล้มในกรณีที่ทิศทางของการล้มขนานกับมุมมองของกล้องได้เป็นอย่างดี เนื่องจากกล่องขอบเขตถูกสร้างขึ้นมามีคุณลักษณะเสมือนมองเข้าด้านข้างของทิศทางการล้มในเชิงลึกเสมอ นอกจากนี้ได้มีการนำเสนอ ค่าอัตราส่วนของจุดศูนย์กลางมวล (Center of Gravity Ratio) ที่สามารถนามาใช้สนับสนุนติดตามการเคลื่อนไหวของการล้มได้ โดยทำการทดสอบและประเมินผลกับภาพเคลื่อนไหวที่ได้จากอุปกรณ์รับภาพที่มีคุณสมบัติแสดงข้อมูลเชิง 3 มิติได้ สาหรับผลการทดสอบพบว่าเทคนิคที่นำเสนอสามารถเพิ่มความถูกต้องและลดเวลาที่ใช้สำหรับตอบสนองการล้มได้ดีกว่าเทคนิคการใช้กล่องขอบเขตในงานวิจัยก่อนหน้า | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title | โครงการ การตรวจจับการหกล้มของผู้สูงอายุในห้องพักในบ้านพักคนชรา | th_TH |
dc.title.alternative | Fall detection system for monitoring an elderly person in elderly care center | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | pusit@buu.ac.th | |
dc.author.email | benchapo@buu.ac.th | |
dc.author.email | krisana@buu.ac.th | |
dc.author.email | pusit@buu.ac.th | |
dc.author.email | rasmequa@buu.ac.th | |
dc.author.email | lchidcha@chula.ac.th | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | Falls are significant public health problem. In the last few years, several researches based on computer vision system have been developed to detect a person who has fallen to the ground. This paper presents a novel fall detection technique namely the directional bounding box (DBB) to detect a falls event especially a situation of fall direction paralleling the line of camera’s sight. The DBB is constructed with perspective side view transformation of depth information. Moreover, a new aspect ratio namely the center of gravity point (COG) is proposed to monitor human movement. The proposed technique was evaluated with the video data set gathering from a RGB-D sensor. The experimental result of the proposed technique was better both accuracy and response times than previous works | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_015.pdf | 1.96 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น