กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1672
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชัชวิน เพชรเลิศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:33Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:33Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1672
dc.description.abstractขลู่เป็นพืชในวงศ์ 3 Compositae หรือ Asteraceae มีสรรพคุณทางยาซึ่งใช้ กันมาแต่ โบราณในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้รวมทั้งในประเทศไทย ด้วย ใบขลู่ ถูกใช้บรรเทาอาการทางระบบประสาทและรักษาการอักเสบ ส่ วนเปลือกสามารถรักษาโรคริดสีดวงทวาร นอกจากนี้ ใบของขลู่ ยังสามารถนำมา เตรียมเป็นชาสำหรับดื่มเพื่อบำรุงสุขภาพ อย่างไรก็ตาม ฤทธิ์ทางชีวภาพในรูปของชายังไม่ มีการศึกษามากนัก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 3 เพื่อที่จะศึกษา ผลของการเก็บที่อุณหภูมิห ้องในที่มืดของชาขลู่ ต่อปริมาณฟีนอลรวมปริมาณฟลาโวนอยด์รวม การเกิดลิพิดเปอร์ 3 ออกซิเดชันโดยดูจากค่าเปอร์ 3 ออกไซด์ 3 ค่าคอนจูเกตไดอีน ค่า TBARS อีกทั้งยังทำการทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ 3 และฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ 3 ของชาขลู่ ด้วยวิธีเอมส 3 ต่ออะมิโนไพรีน-ไนไตรท 3 ในแบคทีเรีย Samonella typhimurium สายพันธุ์ 3 TA 98 และ TA100 ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า ปริมาณฟีนอลรวมของ ชาขลู่ หลังจากเก็บไว้ นาน 3 เดือน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนเป็น 992.251±0.005 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิก/ กรัมของส วนสกัด และปริมาณฟลาโวนอยด์ 3 รวมก็เพิ่มขึ้นเช่ นกัน (482.76±0.001 มิลลิกรัมสมมูลของเควอร 3 เซติน/ กรัมของส วนสกัด) ค่าเปอร์ 3 ออกไซด์ 3 (PV) ณ ตอนเริ่มทำการ ทดลองเพิ่มขึ้นเป็น 91.11% และ 98.52% หลังจากบ่ม 48 ชั่วโมง แต่หลังจากเก็บไว ้นาน 3 เดือน ค่า PV กลับลดลงอย่างเห็นได้ ชัดเหลือ 83.22% ที่ความเข้มข้นสูงสุดของสารสกัดใบชาขลู่ที่ใช ้ในการทดลอง ยิ่งไปกว่านั้น ค่าคอนจูเกตไดอีน (CD) และ TBARS ถูทำให้ ลดลงอย่างมากเมื่อมีสารสกัดจากใบชาขลู่ โดยความสามารถนี้เพิ่มขึ้นตามปริมาณของสารสกัด ค่า CD ระหว่างการเก็บเป็นเวลา 3 เดือน ลดลงอย่างมีนัยสำคัญจาก 60.31% เหลือเพียง 25.78% เมื่อบ่มทำปฏิกิริยาเป็นเวลา 72 ชั่วโมง ค่า IC50 ของสารสกัดต่ อค่า TBARS ระหว่างการเก็บเป็นเวลา 3 เดือนเพิ่มขึ้นจาก 0.487±0.001 เป็น 0.497±0.000 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร สำหรับการทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ 3 ด ้วยวิธีเอมส 3 จากการศึกษาแสดงให้ เห็นว่าชาขลู่ ไม่ก่อให้ เกิดการกลายพันธุ์ 3 ในระบบที่ใช้ในการทดลอง นอกจากนี้ชาขลู่ ที่ความเข้ มข้น 0.625 มิลลิกรัมต่อเพลทยังแสดงฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ 3 สูงสุด (ยับยั้งได้ 62.5% ในสายพันธุ์ 3 TA 98 และ 55.2% ในสายพันธุ์ 3 TA 100 ด้ วยวิธีทดสอบเอมส์th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำชาขลู่th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมันและฤทธิ์ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ของน้ำชาขลู่th_TH
dc.title.alternativeInhibitory effect on lipid peroxidation and antimutagenicity of the herbal tea from Pluchea indica Lessen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativePluchea indica Less. (Khlu in Thai) is taxonomically classified in family Compositae (Asteraceae). Its common name is Indian marsh fleabane. P. indica has been used in folk medicine in Southeast Asia including Thailand. Its leaves are used as a nerve tonic and for treating inflammation and the bark in decoction form against hemorrhoids. Additionally, P. indica leaves are used in the preparation of a herbal tea consumed for promoting good health. However, the characteristics of herbal tea are undescribed. This study aimed to elucidate the storage effect at room temperature in darkness of P. indica leaf tea extract on the total phenolic and total flavonoid contents, the lipid peroxidation with three indicators including the conjugated diene (CD), peroxide value (PV) and thiobarbituric acid reactive substances (TBARs). Additionally, the mutagenicity and antimutagenicity of P. indica tea were also determined by Ames test against aminopyrene-nitriteutilising the mutant Salmonella typhimurium TA98 and TA100 strains. The results showed that the total phenolic content of tea extract at 3 months storage time significantly raised to 992.251±0.005 mg gallic acid equivalent/g extract and the increase of total flavonoid content of tea extract during 2 months was also observed (482.76±0.001 mg quercetin equivalent/g extract). PV values at 0h typically increased to 91.11% and this value 98.52% at 48h were effectively diminished to 83.22% when incubated with the highest concentration of extracts after 3 months. Moreover, CD values and TBARS could be strongly attenuated by P. indica Less. leaves extracts in dose-dependent manner. CD during storage time for 3 months significantly decreased from 60.31% to 25.78% when incubated with 72h. IC50 of extracts against TBARS during storage were observed with the increased significant values by 0.487±0.001 to 0.497±0.000 mg/ml at 3 months. For the Ames assay, no mutagenic activity for both tester strains was observed. In addition, P. indica tea at 0.625 mg/plate also showed the moderate antimutagenic property (62.9% of inhibition in TA98 and 55.2% of inhibition in TA100) by Ames test. In conclusion, P. indica tea could efficiently inhibit the lipid peroxidation and mutagenicity. It may be used to consume as a healthy food.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_012.pdf525.73 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น