กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1631
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิตสวาท ปาละสิงห์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:31Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:31Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1631 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อสำรวจดัชนีความสุขของประชาคมในมหาวิทยาลัยบูรพาและเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างลักษณะประชากรศาสตร์กับดัชนีความสุขของประชาคมในมหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาคมในมหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 816 คน โดยเป็นอาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิต และบุคลากรที่จ้างมาจากภายนอกมหาวิทยาลัย เครื่องมือการวิจัย คือ HAPPINOMETER หรือแบบสำรวจความสุขด้วยตนเอง พัฒนาโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะประชากรศาสตร์ด้านข้อมูลส่วนบุคคลที่แตกต่างกันส่งผลให้ดัชนีความสุข 9 มิติของกลุ่มตัวอย่างแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2. ลักษณะประชากรศาสตร์ด้านสถานภาพการทำงานที่แตกต่างกันส่งผลให้ดัชนีความสุข 9 มิติ ของกลุ่มตัวอย่างแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ดัชนีความสุข | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | ดัชนีความสุขของประชาคมในมหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The research objectives of this study were to investigate happiness index of Burapha University's commmunity and to compare their demographics and happiness index level. Samples were 816 lectures, service providing staff, students and outsource staffs. The research tool was HAPPINOMETER developed to Institute for population and Social research of Mahidol University. The research results showed that there were significant difference between the samples' demographics and working statuses and 9 dimensions of the HAPPINOMETER at the 0.05 level | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_120.pdf | 6.85 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น