กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1625
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบุญรัตน์ ประทุมชาติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:30Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:30Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1625
dc.description.abstractนำกุ้งขาว (Litopenaeusvannamei) ความยาวลำตัว 8-9 เซนติเมตร น้ำหนัก 10-11 กรัม จากบ่อเลี้ยง ลงเลี้ยงในถังไฟเบอร์กลาสขนาด 250 ลิตร ที่ความหนาแน่น 50 ตัวต่อตารางเมตร ในความเค็ม 25 ส่วนในพัน ให้อาหารเม็ดสำเร็จรูป โปรตีน 35% ปริมาณ 5% ของน้ำหนักตัว แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง เปลี่ยนถ่ายน้ำ 50% ทุกๆ 15 วัน แบ่งการทดลองออกเป็น 8 การทดลองจากระยะลอกคราบ 8 ระยะ ได้แก่ ระยะหลังลอกคราบใหม่ ๆ (Early post-molt, A stage) ระยะหลังลอกคราบ (Post-molt, B stage) ระยะคราบแข็ง (Intermolt, C stage) และระยะก่อนลอกคราบ (Premolt, D0, D1, D2, D3, และ D4 stages) ทำ 5 ซ้ำ เก็บเลือดจากกุ้งทุกระยะลอกคราบเพื่อเตรียมพลาสมา แล้วนำไปวัดปริมาณของธาตุโซเดียม โปแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ทองแดง แมงกานีส คลอรีน ฟอสฟอรัส และกำมะถัน จากการทดลองพบว่า ความเข้มข้นของโซเดียมมีความเข้มข้นสูงขึ้น (p<0.05) อย่างต่อเนื่องจากระยะลอกคราบ A ไป D3 ก่อนลดลง (p<0.05) ที่ระยะ D4 ส่วนโพแทสเซียม แมงกานีสมีความเข้มข้นสูงขึ้น (p<0.05) จากระยะลอกคราบ A ถึง ระยะ C และมีการเปลี่ยนแปลงต่ำ (p>0.05) จากระยะ D0 ถึง D2 และเพิ่มขึ้น (p<0.05) ที่ระยะ D3 ก่อนค่าจะลดลง (p<0.05) ที่ระยะ D4 แคลเซียม แมกนีเซียม คลอรีน และทองแดงก็มีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยมีค่าต่ำในระยะ A-C และมีค่าสูงขึ้นตามลำดับช่วง D0-D2 จนมีค่าสูงสุด (p<0.05)ที่ระยะ D3 ก่อนจะลดลง (P<0.05)ที่ระยะ D4 ทั้งฟอสฟอรัสและกำมะถันมีค่าเปลี่ยนแปลงต่ำช่วงระยะลอกคราบ A ถึง D0 และมีค่าจะเพิ่มขึ้น (p>0.05)ที่ระยะ D1 จนมีค่าสูงสุด (p<0.05) ที่ D2-D3 ก่อนจะลดลง (p<0.05) ที่ระยะ D4 เช่นเดียวกันth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน จากสำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่ง ประจำปี พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้งขาว - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งขาวth_TH
dc.subjectสรีระเคมีth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการเปลี่ยนแปลงสรีระเคมีในรอบวงจรลอกคราบของกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei)th_TH
dc.title.alternativePhysicochemical changes of white shrimp (Litopenaeus vanamei) over molt cycleen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativePond-reared white shrimp (Litopenaeusvannamei) with 8-9 cm in total length and 10-11 g body weight were held at 50 shrimps/m2 in 250-L fiberglass tank under 25 ppt. They were fed four times daily with 35%protein pellet feed by ration of 5% of shrimp body weight. Water was exchanged at 50% every 15 days. The experiment was divided into 8 treatments as followed 8 molting staged: Early post-molt (A stage), Postmolt (B stage), Intermolt (C stage) and Premolt (D0, D1, D2, D3, และ D4 stages). Five replication were operated. Hemolymph of experimental shrimp samples at different molt stages were collected and further analyzed for concentrations of Na, K, Ca, Mg, Mn, Cu, Cl, P and S. Concentration of Na increased continuously (p<0.05) from A to D3 stages before decreased (p<0.05) at D4 stage. K and Mn concentrations increased (p<0.05) from A to C stages and low variation (p<0.05) during D0-D2 stages, increased (p<0.05) at D3 stage before dropped (p<0.05) at D4 stage. Ca, Mg, Cl and Cu were similar behavior, their concentration showed low during A-C stages and increased continuously from D0 to D2 until the highest value at D3 stage (p<0.05) before dropped (p<0.05) at D4 stage. Concentrations of P and S found low variation during A-D0 stages till increased (p>0.05)from D1 to the highest (p<0.05) values at D2-D3 stages before dropped (p<0.05) at D4 stage as well.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น