กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1571
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรภร พิมพา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:13Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:13Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1571 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่อง แรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา 2. เพื่อทราบแนวทางการทำงานของบุคลากรตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ ประธานสาขา อาจารย์ประจำ และพนักงานสายสนับสนุนวิชาการที่รับผิดชอบการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 19 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์จากแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล เอกสาร โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ค่าร้อยละ และสรา้งข้อสรุปแบบอุปนัย ผลจากการวิจัยพบว่า นโยบายการบริหารสามารถจูงใจให้บุคลากร คณะการจัดการและการท่องเที่ยวทำงานตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา โดยการสรา้งวิสัยทัศน์ นโยบายประกันคุณภาพการศึกษา มีวิธีการทำงานประกันคุณภาพการศึกษา ทำงานประกันคุณภาพการศึกษาแบบทีม (Team work) เน้นแบบมีส่วนร่วม มีระบบสารสนเทศ และคู่มืองานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะการจัดการและการท่องเที่ยว แนวทางการทำงานประกันคุณภาพการศึกษามีแนวทางแก้ไขพฤติกรรมของบุคลากรคณะการจัดการและการท่องเที่ยว จากการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการศึกษา คือ 1. เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรภายในคณะทุกขั้นตอน แต่งตั้งคณะบุคคลในรูปคณะกรรมการ ประกอบด้วย คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาและคณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 2. จัดทำคู่มือ แนวปฏิบัติที่ดีงานประกันคุณภาพการศึกษา 3. สร้างเครื่องมือการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศเพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และ 4. จัดทำระบบสารสนเทศงานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะและกำนดสิทธิการลงข้อมูลพื้นฐานสำหรับคณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา, กำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูลบุคลากรงานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ เพื่อสามารถดำเนินการเชื่อมต่อข้อมูลจากระบบข้อมูลพื้นฐานส่งผลการดำเนินงานไปยังระบบสารสนเทศงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทผลงานทางการวิจัย คณะการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การประกันคุณภาพการศึกษา | th_TH |
dc.subject | แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Personnel's work motivation based on quality assurance in education of faculty of management and tourism, Burapha University | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | This research is guided by 2 objectives: 1) to study work motivation based on QAE (Quality Assurance in Education) of the personnel of Faculty of Management and Tourism, Burapha University and 2) to understand and propose a guideline for improving work performance of the personnel. Rgw population, altogether 19 people, is consisted of program heads, full-time lecturers, and faculty members responsible for quality assurance in education of the Faculty. Open-ended questionnaire is used as data collecting tool. The data analysis is done through both content analysis (inductive reasoning) and statistic (percentage). The findings show that, at the Faculty of Management and Tourism, the administrative policy can motivate the personnel to perform their tasks in accordance with quality assurance in education by prescribing a vision, specifying the policy of quality assurance in education, building a working team which focuses on member's participation, and creating an information system and its instruction. To serve the administrative policy, the suggestions for improving the performance of quality assurance in education of the Faculty can be divided into four facets. First, the staff's working behavior adjustment needs to be emphasized on staff's participation which can be done through appointment of working team and committee. Second, procedure manual needs to be made and implemented. Third, to avoid overlapping of information, an effective operation using information system needs to be initiated. Fourth, an information system for quality assurance in educatu=ion with access right needs to be built. This is for the authorized members of the working team to input the data into the Faculty data base and to connect the Faculty data to the quality assurance information system of the university. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น