กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1541
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข
dc.contributor.authorภาณุวัฒน์ เชิดเกียรติกูล
dc.contributor.authorปณิตา วรรณพิรุณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:11Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:11Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1541
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมภาวะพฤฒิพลังในผู้สูงอายุ โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน โดยพื้นที่ที่ทำการวิจัยเป็นชุมชนเขาสามมุก ในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่รับจ้างแกะหอยที่ยินดีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการในการเรียนรู้สังเคราะห์กรอบแนวคิดเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมภาวะพฤฒิพลังสำหรับผู้สูงอายุ และประเมินภาวะพฤฒิพลังก่อนและหลังการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ต่ำสุด และใช้สถิติอ้างอิงในรูปของการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองค่าจากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว (Paired samples t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ไม่มีความรู้เกี่ยวกับแหล่งการเรียนรู้ (60.0%) ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง (50.0%) ไม่รู้วิธีการเรียนรู้ (50.0%) และไม่เคยได้รับการฝึกทักษะในการเรียนรู้ (50.0%) ในด้านความต้องการด้านการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ไม่ต้องการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ (60.0%) ไม่ต้องการใช้แหล่งเรียนรู้ (50.0%) ไม่ต้องการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง (50.0%) ไม่ต้องการฝึกนิสัยการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (50.0%) ไม่ต้องการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ (40.0%) แต่มีความต้องการได้รับการพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ (55.0%) รูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นคือ โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุเรื่องปัญหาสุขภาพจากการทำงาน จากนั้นกลุ่มตัวอย่างนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน โดยมีการหยุดพักหรือเปลี่ยนอิริยาบถระหว่างการทำงานเป็นระยะ ๆ บางคนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายโดยการรำกระบองทุกวัน เป็นเวลา 1 เดือน ผลการเปรียบเทียบภาวะพฤฒิพลัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะพฤฒิหลังเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการเรียนรู้th_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้และอาชีพของผู้สูงอายุ: การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมภาวะพฤติพลังth_TH
dc.title.alternativeThe development of learning and occupation for the elderly: Learning to Enhance active agingen
dc.typeงานวิจัย
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe mixed method research aimed to develop a learning model to enhance active aging among the elderly in the Sam Mook area of the Saen Suk Municipality in Chon Buri Province. The study’s subjects were comprised of 20 elderly people, who worked as oyster laborers. Data were collected by interviews, which included questions about learning needs and problems. The learning model was constructed based on the active aging concept, and was evaluated before and after the implementation of the learning activities. Percentages, means, standard deviations, minimum and maximum values were used to describe the data, and the paired t-test was conducted to determine the differences of the mean score levels. The results revealed that in terms of the learning problems, most subjects did not know where to find the learning resources (60.0%), nor did they participate in self-improvement activities (50.0%). Also, many subjects did not know the learning methods (50.0%). In terms of learning needs, most subjects did not want to improve their learning methods (60.0%); did not want to use learning sources (50.0%); did not want to participate in self- improvement activities (50.0%); did not want to practice continuous learning behavior (50.0%); and did not want to receive learning support (40.0%); but they did want to receive learning skill developments (55.0%). The learning model developed was a lesson on common work-related health problems among the elderly. The duration of learning activities was one month. The subjects implemented short breaks or changing posture while working during the day. Some of them were involved in physical exercises. The active aging level was evaluated before and after the learning activities, and it was increased at a 0.05 statistical level.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_063.pdf2.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น