กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1538
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิชมณี ยืนยงพุทธกาล | |
dc.contributor.author | สุวรรณา วรสิงห์ | |
dc.contributor.author | อาภัสรา แสงนาค | |
dc.contributor.author | นิสานารถ กระแสร์ชล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:10Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:10Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1538 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการผลิตสาหร่ายผักกาดทะเลอบแห้งให้เป็นอาหารว่างเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กวัยเรียน จากการศึกษาวิธีการเตรียมขั้นต้นต่อการถ่ายเทมวลสารระหว่างการออสโมซิส พบว่า การเตรียมขั้นต้นด้วยการลวกร่วมกับการแช่ในสภาวะสุญญากาศ มีผลให้ตลอดการออสโมซิสสาหร่ายผักกาดทะเลมีปริมาณน้ำที่สูญเสียและปริมาณน้ำหนักที่ลดลงสูงที่สุด แต่มีปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้นต่ำที่สุด โดยค่าการถ่ายเทมวลสารดังกล่าวแตกต่างจากการเตรียมขั้นต้นด้วยการลวกหรือการแช่ในสภาวะสุญญากาศเพียงอย่างเดียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลของการเสริมธาตุเหล็กในสาหร่ายผักกาดทะเลโดยการออสโมซิส พบว่า การเติมเฟอรัสซัลเฟตลงในสารละลายออสโมติกเพิ่มขึ้นทำให้สาหร่ายผักกาดทะเลมีปริมาณเหล็กมากขึ้น โดยพบว่าการเติมเฟอรัสซัลเฟต 15% ในสารละลายออสโมติกทำให้สาหร่ายผักกาดทะเลมีปริมาณเหล็กมากที่สุดแต่มีกลิ่นรสของเหล็กเข้มมากและมีสีคล้ำ ปริมาณเฟอรัสซัลเฟตที่เหมาะสม คือ 10% โดยทำให้สาหร่ายผักกาดทะเลมีปริมาณ เหล็กเท่ากับ 6.76 g/100g โดยมีกลิ่นรสของเหล็กและสีคล้ำเล็กน้อย การออสโมซิสช่วยลดเวลาในการทำแห้งลงได้ โดยเวลาที่ใช้ในการทำแห้งสาหร่ายผักกาดทะเลที่ไม่ผ่านและผ่านการออสโมซิสเท่ากับ 285 และ 249นาที ตามลำดับ จากการเปรียบเทียบคุณภาพของผลิตภัณฑ์สาหร่ายอบแห้งและสาหร่ายสด พบว่า สาหร่ายผักกาดทะเลอบแห้งที่ผ่านการออสโมซิสมีปริมาณเหล็ก ไอโอดีน น้ำตาลทั้งหมด และโซเดียมมากกว่าสาหร่ายผักกาดทะเลอบแห้งที่ไม่ผ่านการออสโมซิสและสาหร่าย สด (p<0.05) แต่มีปริมาณแคลเซียมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≥0.05) ผลการ ทดสอบทางประสาทสัมผัสกับเด็กวัยเรียน พบว่า ผลิตภัณฑ์สาหร่ายผักกาดทะเลอบแห้งที่ไม่ผ่านและ ผ่านการออสโมซิสได้รับคะแนนความชอบโดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≥0.05) โดยได้รับคะแนนอยู่ในช่วง 2.73-2.83 คะแนน จาก 5 คะแนน การปรับปรุงกลิ่นรสสาหร่ายผักกาดทะเลอบแห้งด้วยกลิ่นรสปลาและกลิ่นรสกุ้ง ทำให้ได้รับคะแนนความชอบโดยรวมมากกว่าสาหร่ายผักกาดทะเลอบแห้งแบบเดิม โดยได้รับคะแนนความชอบอยู่ในช่วง 3.70-3.95 คะแนน จาก 5 คะแนน | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ขนมขบเคี้ยว | th_TH |
dc.subject | ผักกาดทะเลอบแห้ง | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากสาหร่ายผัดกาดทะเลสำหรับเด็กวัยเรียน | th_TH |
dc.title.alternative | Development of snack product from sea lettuce (Ulva rigida) for school children | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | wich@buu.ac.th | |
dc.author.email | suwannav@g.swu.ac.th | |
dc.author.email | arpathsra.s@rmutk.ac.th | |
dc.author.email | nisanart@go.buu.ac.th | |
dc.author.email | arpathsra.s@rmutk.ac.th | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The production of sea lettuce as a health snack food for school children was conducted. Effect of pre-treatments on mass transfer during osmosis was studied. It was found that blanching combined with vacuum impregnation pre-treatment resulted highest both water loss and weight reduction but lowest solids gain. This mass transfer values were significantly difference from blanching or vacuum impregnation pretreatment alone (p<0.05). The result from iron enrichment on sea lettuce using osmosis technique was found that the addition of ferrous sulfate into the osmotic solution increased iron content of sea lettuce. The addition of 15% ferrous sulfate in the osmotic solution could produce the sea lettuce contained the highest iron content but remained strong iron favor and dark color. The optimum content of ferrous sulfate was 10% which made the sea lettuce contained 6.76 g/100 g iron content with slightly iron favor and dark color. The osmosis technique could reduce the drying time. Drying time of fresh and osmosed sea lettuce were 285 and 249 minutes, respectively. Qualities of the dried and fresh sea lettuce products were compared. It was found that dried osmosed sea lettuce contained more content of iron, iodine, total sugar and sodium than dried non-osmosed and fresh sea lettuce (p<0.05) but not significantly difference on calcium content(p ≥ 0.05). Sensory test with school children was evaluated. It was found that overall liking scores of dried osmosed and non-osmosed sea lettuce were not significant difference (p ≥ 0.05). The overall liking score ranged 2.73-2.83 from 5 point. Dried sea lettuce flavored with fish and prawn seasoned powder received overall liking scores more than non-flavored dried sea lettuce. The overall liking score ranged 3.70-3.95 from 5 point | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2559_066.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น