กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1524
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิไล เอื้อปิยฉัตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:09Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:09Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1524
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ และส่วนที่ 2 เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ในส่วนของการวิจัยเชิงสำรวจ เป็นการสำรวจบุคลากรในสังกัดมหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน แลพนักงานสัญญาจ้างเหมาแรงงาน เฉพาะกลุ่มพนักงานทำความสะอาด (แม่บ้าน) และคนสวนในมหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน จำนวน 346 คน โดยมีวัตถุประสงค์ 4 ประการ 1) เพื่อวัดระดับความรู้ทางการเงินของบุคลากร ฯ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่กำหนดความแตกต่าง ของระดับความรู้ทางการเงินของบุคลากร 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สำคัญทั้งทางด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางการเงินที่กำหนดพฤติกรรมการออม-ไม่ออม ของบุคลากร ฯ 4) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ที่สำคัญทางด้านประชากรเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางการเงิน ที่กำหนด จำนวนเงินออม และสัดส่วนเงินออมต่อรายได้ของบุคลากร ฯ ส่วนที่สองการวิจัยกึ่งทดลอง เป็นการทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อน และหลังการทดลอง (The pretest posttest control group design) โดยกลุ่มทดลองคือแม่บ้านที่ทำงานในอาคารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทั้งแม่บ้านที่ทำงานในอาคารคณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุมซึ่งเป็นแม่บ้านที่ทำงานในอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ และอาคารคณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 คน โดยมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) พัฒนาพฤติกรรมการออมของกลุ่มทดลองด้วยการอบรมให้ความรู้ทางการเงิน 2) ประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมการออมที่เกิดจากการใช้กระบวนการการให้ความรู้ทางการเงินระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการอบรม และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับการอบรมใด ๆth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการเงินth_TH
dc.subjectพฤติกรรมการออมth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความรู้ทางการเงิน: ตัวกำหนดและผลกระทบที่มีต่อพฤติกรรมการออมth_TH
dc.title.alternativeFinancial Literacy: Determinants and its implications for saving behavioren
dc.typeResearch
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThis research is divided into two parts. Part one of this study is survey research, and part two is quasi-experimental research. In this survey research, the samples consisted of 346 government officers and contract workers (the cleaning staff and gardeners) in Burapha University. The objectives of this survey research were 1) to measure the level of financial literacy. 2) to examine the determinants of financial literacy. 3) to estimate the binary logistic regression showing the factors that effected saving behavior (save or not save) 4) to estimate the Ordinary least squares (OLS) regression showing the factors that effected the amount of savings and the saving rate. As for the quasi-experimental research, the target group is the cleaning staff. They were divided into two groups: 15 in a treatment group and 15 in a control group. The objectives of this study were 1) to develop a financial literacy training strategy to improve the cleaning staff’ saving behavior and 2) to evaluate the cleaning staff’s saving behavior resulting from the development financial literacy training strategy.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_093.pdf9.37 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น