กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/14
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุฬาริน เฉยศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:42Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:42Z | |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/14 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้ฐานข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฉบับเต็ม รวมถึงเปรียบเทียบปัญหา และอุปสรรคจำแนกตามประเภทของผู้ใช้และระดับการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามออนไลน์ โดยถามจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิต อาจารย์ นักวิจัย บุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา และบุคคลาภายนอกที่ใช้ฐานข้อมูล ระหว่างวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2552 - 20 เมษายน พ.ศ.2553 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จำนวน 400 คน และได้รับแบบสอบถามคืนมา 334 คน คิดเป็นร้อยละ 83.50 ผู้วิจัยได้วิเคราะห์และประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยใช้สถิติค่า ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อและการทดสอบสมมติฐานการวิจัย การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) แล่ค่า t-test ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า เป็นผู้ใช้ภายในมหาวิทยาลัยมีสถานภาพเป็นนิสิต มีการศึกษาระดับปริญญาโท/ ปริญญาเอก สังกัดอยู่ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มากที่สุด และมีความถี่ในการเข้าใช้ 2-5 ครั้ง ในรอบระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา 2. การใช้ฐานข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฉบับเต็มของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ส่วนใหญ่ทราบแหล่งข้อมูลจากเว็บไซต์ของห้องสมุด วัตถุประสงค์ในการใช้ฐานข้อมูลคือ ทำเพื่อวิทยานิพนธ์ มีวิธีการสืบค้นข้อมูลจากคำอธิบายวิธีใช้จากหน้าจอ ประเภทของข้อมูลที่ต้องการคือ วิทยานิพนธ์ และค้นข้อมูลปีปัจจุบัน- ข้อมูลย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี ใช้ระยะเวลาในการสืบค้นข้อมูลมากกว่า 60 นาที ช่วงเวลาในการสืบค้น เวลา 12.01-18.00 น. และใช้วิธีการในการจัดเก็บข้อมูลโดยจัดเก็บลงใน Handy Drive/ Flash Drive ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีการกลับมาใช้ฐานข้อมูลและมีความต้องการรูปแบบที่เป็นดิจิทัล 3. ความพึงพอใจในการใช้ฐานข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฉบับเต็ม พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 2 ข้อ ได้แก่ ฐานข้อมูลมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนและการทำงาน และสามารถสืบค้นข้อมูลเอกสารฉบับเต็มทั้งปีปัจจุบันและปีย้อนหลังได้ 4. ปัญหาและอุปสรรคในการใช้ฐานข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฉบับเต็ม พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับน้อยเช่นกัน มีเพียง 1 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา อยู่ในระดับปานกลาง 5. การเปรียบเทียบปัญหาและอุปสรรคในการใช้ฐานข้อมูล พบว่า ประเภทของผู้ใช้ และระดับการศึกษาต่างกัน มีปัญหาและอุปสรรคในการใช้ฐานข้อมูลโดยรวมแตกต่างกัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากเงินรายได้ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การค้นข้อสนเทศ | th_TH |
dc.subject | การค้นหาฐานข้อมูล | th_TH |
dc.subject | ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | ฐานข้อมูล | th_TH |
dc.subject | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ศึกษาความพึงพอใจ ปัญหาและอุปสรรคของการใช้ฐานข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฉบับเต็มของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Study of saticfaction, problems and obstacles of usage fulltext digital collection of Burapha University Library | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2553 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: Study usage Satisfaction toward the problem and Obstacles to using eletronic document in a database approach full Including comparative issues. And threats by type and level of education Tools used to collect data Questionnaires online. The sample was asked by student teachers university research personnel. Burapha and third parties. Using the database on 20 December 2552-20 April 2553. The samples used in this study and 400 questionnaires were returned representing 334 people. 83.50 percent, the researcher analyzed and processed using data analysis software package analysis. Statistical data were analized using percentage standard deviation. And testing hypotheses Analysis of variance One-way ANOVA and the t-test. The results are as follows: 1. General information about the survey found that most users on campus. Status as students. A Masters Degree/ ph.D.under the Faculty of Humanities and Social Sciences, and most often to access 2-5 in the third period last month. 2. Using electronic documents in the database is full of typicalBurapha university library. Mostly know sources from library website. Purposeofthe databaseis made for thesis How to search the descriptions for the screen. Type of information you want and find the thesis of the current data - historical data for up to five years time, the search time in more than 60 minutes ofsearch time, 12:01 to 18:00 am. and the method of storage. The stre in the Handy Drive/ Flash Drive most users have to use a database and require a digital format. 3. Satisfaction of using electronic document in a database approach full Found that the overall hight level. In view of the item found. The highest level two criteria database Contains a useful learning and working. You can search documents and full year. Current year archive. 4. Problums and obstacles to use electronic documents in the database showed that typical full. Were at a less level. When considering the most of the same less level as only one side is the content in the medium 5. Comparing the problems and obstacles in the database found that the type of user and level. Study different Problems and obstacles in the database, the overall difference. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2553_004.pdf | 4.35 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น