กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1486
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภูสิต กุลเกษมth
dc.contributor.authorสุวรรณา รัศมีขวัญth
dc.contributor.authorเบญจภรณ์ จันทรกองกุลth
dc.contributor.authorสุนิสา ริมเจริญth
dc.contributor.authorกฤษณะ ชินสารth
dc.contributor.authorปิยตระกูล บุญทองth
dc.contributor.authorมานิต ชาญสุภาพth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:07Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1486
dc.description.abstractการประมวลผลเพื่อการคำนวณความรู้สึก (Affective Computing) เป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นเพื่อลดช่องว่างของการสื่อสารระหว่างมนุษย์กับสมองกลหรือระบบคอมพิวเตอร์ โดยการพัฒนาระบบการประมาณผลที่สามารถจดจำหรือตอบสนองต่อสถานะทางอารมณ์ที่แตกต่างกันของมนุษย์ได้ ในงานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีการคำนวณของตัวเลขเพื่อการรู้จำอารมณ์เสียง โดยแบ่งขั้นตอนการประมาลผลออกเป็น 3 ขั้นตอนหลัก 1) การกรองสัญญาณแบบผสมโดยประมวลผลบนพื้นฐานของการกำจัดเสียงรบกวนโดยใช้ตัวกรองสัญญาณเกาส์เซียน 2) การสกัดลักษณะข้อมูลเสียงออกมาด้วยตัวกรอง 6 รูปแบบ คือ Standard Energy Entropy, Standard Mean Zero-Crossing Rate, Standard Rolloff, Standard Spectral Centroid, Standard Spectral Flux Standard Mean Energy และ 3) การรู้จำแบบมีผู้สอน จากผลการทดลองเบื้องต้นซึ่งผู้วิจัยได้ทดสอบขั้นตอนวิธีที่นำเสนอกับข้อมูลเสียงอามรณ์ต่างๆ ของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 9 คน พบว่า ขั้นตอนวิธีการนำเสนอให้ผลการทดลองเป็นที่น่าพอใจth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการรู้จำอารมณ์จากเสียงพูดที่แสดงความรู้สึกด้วยวิธีการแบ่งกลุ่มผสมth_TH
dc.title.alternativeEmotion recognition of affective speech based on hybrid classifiersen
dc.typeงานวิจัย
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeAffective Computing is a computational science that help to reduce the gap of communication between human and artificial intelligence machine by developing a program that can process, memorise and response to different human emotions. In this research work we have proposed composed computational models to recognize human emotions. we have proceed with four major steps as follows: 1) Hybrid Adaptive filtering which is used to remove noise by Gaussian Filters. 2) Feature extraction which is used to extract feature of voice by Standard energy entropy, standard mean zero-crossing rate standard Rolloff standard Spectral Centroid standard spectral flux and standard mean energy. 3) Supervised recognition which is used to recognize the mood of voice data to classify them into their proper classes The preliminary results from the proposed methods are satisfy our criteria well.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_110.pdf2.38 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น