กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1468
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมคิด ใจตรง | |
dc.contributor.author | เจิมขวัญ สังข์สุวรรณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:07:05Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:07:05Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1468 | |
dc.description.abstract | การผลิตฟิล์มจากพอลิแลคติกแอซิดเป็นส่วนประกอบหลักร่วมกับวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ได้แก่ ไคโตซาน เมทิลเซลลูโลส และเปลือกไข่ พบว่าฟิล์มพอลิแลคติกแอซิดบริสุทธิ์ และพอลิแลกติกแอซิดผสมกับผงเปลือกไข่สัดส่วน 7:3 สามารถขึ้นเป็นแผ่นฟิล์มได้ และมีลักษณะใส และขาวขุ่นตามลำดับ ส่วนเมทิลเซลลูโลสและไคโตซานส่วนผสมไม่เข้ากัน เกิดการแยกเฟสชัดเจน ไม่สามารถขึ้นรูปเป็นแผ่นฟิล์มได้ โครงสร้างพื้นผิวของแผ่นฟิล์ม พอลิแลคติกแอซิดบริสุทธิ์ มีลักษณะพื้นผิวค่อนข้างเรียบ และเป็นเนื้อเดียวกัน มีรูพรุน ขนาด 500 ไมโครเมตร เมื่อผสมเปลือกไข่ลงไปในพอลิแลกติกแอซิด ทำให้ฟิล์มมีรูพรุนขนาดใหญ่ขึ้นตามสัดส่วนของเปลือกไข่ที่ผสมลงไป ซึ่งมีขนาดของรูพรุนระหว่าง 600 นาโนเมตร ถึง 2 ไมโครเมตร และมีลักษณะพื้นผิวเป็นโครงตาข่าย สำหรับความหนาของฟิล์มพอลิแลคติกบริสุทธิ์ คือ 400 นาโนเมตร และฟิล์มพอลิแลคติกแอซิดผสมเปลือกไข่ มีค่าระหว่าง 1.3 ถึง 1.8 ไมโครเมตร โครงสร้างของพอลิแลคติกแอซิดและผงไข่มีโครงสร้างเป็นผลึก ส่วนเมทิงเซลลูโลสและไคโตซานมีโครงสร้างเป็นผลึกกึ่งอสัณฐาน ธาตุองค์ประกอบหลัก คือ ธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และ ไททาเนียม คุณสมบัติทางกายภาพของฟิล์มในด้านขีดจำกัดการยืดหยุ่น ร้อยละการยืด และโมดูลัสความยืดหยุ่นพบว่า เมื่อผสมผงเปลือกไข่ลงไปในพอลิแลคติกแอซิด จะช่วยเสริมความแข็งแรงให้กับแผ่นฟิล์ม ทำให้ฟิล์มมีคุณสมบัติทนต่อแรงกระทำฉับพลันและวัสดุมีความสามารถในการขึ้นรูปได้มากขึ้น และประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli เพิ่งขึ้นตามสัดส่วนของเปลือกไข่ที่ผสมลงไปในฟิล์ม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว | th_TH |
dc.subject | พอลิแลคติกแอซิด | th_TH |
dc.subject | เปลือกไข่ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การพัฒนาสูตรฟิล์มห่อหุ้มผลิตภัณฑ์อาหารจากพอลิแลคติกแอซิดและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร | th_TH |
dc.title.alternative | Films development from poly lactic acid and agricultural waste for food products | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | Polylactic acid (PLA) based composites films with different type of agricultural waste, such as chitosan, methylcellulose and eggshell, were prepared using a solvent casting method and their physical, chemical and antibacterial properties were investigated. The results showed that PLA and PLA-eggshell (PLA-ES) (7:3) can be create the composite films, transparency and opaque white, respectively. The surface structure of films was evaluated by scanning electron microscopy (SEM). OLA films surfaces showed homogeneous and a numerous of pores, 500 nm pore size, eggshell increased pore size of films range from 600 nm to 2 um with stacked layers of composite films. Films thickness pf PLA and PLA-ES films were 400 nm and 1.3 to 1.8 um. respectively. Structure of PLA and eggshells were crystalline, while the chitosan and methyl cellulose were Semi-crystalline. The main element in composite film is Ca, P, and Ti. The eggshell in composite films were improved physical properties, significant increase in hardness and reinforcement of film. The PLA-ES composite film showed antimicrobial function inhibit growth of Escherichia coli. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_174.pdf | 3.33 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น