กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1466
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสิริมา ชินสารth
dc.contributor.authorกฤษณะ ชินสารth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:05Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:05Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1466
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนากระบวนการผลิตสับปะรดกึ่งแห้งและการสร้างตัวแบบเพื่อการะยากรณ์การถ่ายเทมวลสารระหว่างกระบวนการออสโมซิส ขั้นตอนแรก ศึกษาชนิดของสารละลายออสโมติก ได้แก่สารละลายซูโครส และสารละลายซูโครสผสมกลีเซอรอล (1: 1) ระยะเวลาที่ใช้ในการเตรียมขั้นต้นด้วยสุญญากาศ (0 และ 15 นาที) และระยะเวลาในการแช่สารละลายออสโมติกพบว่า อิทธิพลร่วมของชนิดของสารละลายออสโมติก และระยะเวลาในการเตรียมขั้นตอนต้นด้วยสุญญากาศมีผลต่อค่าปริมาณน้ำที่สูญเสียอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05) ส่วนปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น พบว่า อิทธิพลร่วมระหว่างทั้งสามปัจจัย คือ ชนิดของสารละลายออสโมติก ระยะเวลาในการเตรียมขั้นต้นด้วยสุญญากาศ และระยะเวลาในการแช่ในสารละลายออสโมติกมีผลต่อค่าปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05) เมื่อพิจารณาจากค่าการสูญเสียน้ำที่ระยะเวลา 240 นาที จึงเลือกสับปะรดที่แช่ในสารละลายซูโครส 32.5% ร่วมกับกลีเซอรอล 32.5% ที่ไม่ผ่านการเตรียมขั้นต้นโดยใช้สุญญากาศ สารละลายซูโครส 32.5% ร่วมกับกลีเซอรอล 32.5% ที่เตรียมขั้นต้นโดยใช้สุญญากาศ 15 นาที และสารละลายซูโครส 65% ที่เตรียมขั้นต้นโดยใช้สุญญากาศ 15 นาที สำหรับใช้ในการทดลองขั้นต่อไป ขั้นที่สอง เป็นการศึกษาผลของการออสโมซิสที่สภาวะต่างๆต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์สับปะรดมีความชื้น 15 เปอร์เซ็นต์ พบว่า สับปะรดอบแห้งที่ผ่านการแช่ในสารละลายซูโครส 32.5% ร่วมกับกลีเซอรอล 32.5% และการเตรียมขั้นต้นโดยสุญญากาศที่ 200 mbar 15 นาที มีค่า aʷ ต่ำที่สุด เนื้อสัมผัสนุ่ม และได้รับคะแนนความชอบโดยรวมสูงที่สุด โดยมีคะแนนอยู่ในช่วงชอบปานกลางถึงชอบมาก ขั้นสุดท้าย เป็นการาร้างตัวแบบเพื่อพยากรณ์การถ่ายเทมวลสารระหว่างกระบวนการออสโมซิส พบว่า แบบจพลองโครงข่ายประสาทเทียมแบบแพร่ย้อนกลับสามารถใช้พยากรณ์การถ่ายมวลสารระหว่างกระบวนการออสโมซิสได้ดีth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สำนักงานคณะ กรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการออสโมซิสth_TH
dc.subjectสับปะรด - - การผลิตth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการพัฒนากระบวนการผลิตสับปะรดกึ่งแห้งและการสร้างตัวแบบเพื่อการพยากรณ์การถ่ายเทมวลสารระหว่างกระบวนการออสโมซิสth_TH
dc.title.alternativeProcess development of intermediate moisture pineapple and mass transfer prediction models during osmosis processth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThis research was a process development of intermediate moisture pineapple and mass transfer prediction models during osmosis process. First step, types of osmotic solution which were sucrose combined with glycerol (1: 1), time of vacuum pretreatment ( 0 and 15 minutes) and soaking time in osmotic solution were investigated. Results showed that there was the interaction between types of osmotic solution and time of vacuum pretreatment on water loss with significant different (p ≤ 0.05). While, there was the interaction during 3 factors which were types of osmotic solution, time of vacuum pretreatment and soaking time in osmotic solution on solid gain with significant different (p ≤ 0.05). From water loss content at 240 minutes of soaking, pineapple cubes soaked in 32.5% sucrose combined with 32.5% glycerol, 32.5% sucrose combined with 32.5% glycerol with vacuum pretreatment for 15 minutes and 65% sucrose with vacuum pretreatment for 15 minutes were selected for the next experiment. Second step, effect of osmosis condition on quality of intermediate moisture pineapple product after drying at 60 ᵒC until 15% of moisture content was studied. Results revealed with 32.5% glycerol with vacuum pretreatment at 200 mbar for 15 minutes had lowest aʷ, soft texture and highest overall liking score at the level of moderately to very much like. Final step, mass transfer prediction models during osmosis process was developed. The models demonstrated that the Back-propagation Neural Network gave a good prediction for mass transfer during osmosis process.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น