กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1459
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริth
dc.contributor.authorสมสมัย รัตนกรีฑากุลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:05Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:05Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1459
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการยืนหยัดเผชิญปัญหาวิกฤตเอกสิทธิ์ในการทำงาน และการตัดสินใจทางคลินิกขณะปฏิบัติงานของพยาบาลเวชปฏิบัติในเขตภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลเวชปฏิบัติที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสาธารณสุข สถานีอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลทั่วไป ในเขตภาคตะวันออก ทั้งเพศหญิงและเพศชาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างพยาบาลเวชปฏิบัติ แบบสอบถามความสามารถในการยืนหยัดเผชิญปัญหาวิกฤตของ Connor-davidson แบบสอบถามเอกสิทธิ์ในการทำงานของ Dempster และแบบสอบถามการตัดสินใจทางคลิกนิกขณะปฏิบัติของ Chumbler, Geller, and Weier วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการวิจัยพบว่าความสามารถในการยืนหยัดเผชิญปัญหาวิกฤตกลุ่มตัวอย่างพยาบาลเวชปฏิบัติ อยู่ในระดับค่อนข่างดี (ร้อยละ 70.71) เอกสิทธิ์ในการทำงานของกลุ่มตัวอย่างพยาบาลเวชปฏิบัติ อยู่ในระดับค่อนข่างดี (ร้อยละ 766.91) และการตัดสินใจทางคลิกนิกขณะปฏิบัติงานของพยาบาลเวชปฏิบัติ อยู่ในระดับไม่ดี (ร้อยละ 26.79) จากผลการวิจัยครั้งนี้ บุคลากรสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทางเพื่อพัฒนาการปฏิบัติของพยาบาลเวชปฏิบัติให้ชัดเจนและเหมาะสมยิ่งขึ้นสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ด้านนโยบายสาธารณสุข ในการยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพยาบาลเวชปฏิบัติth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการศึกษาความสามารถในการยืนหยัดเผชิญปัญหาวิกฤตเอกสิทธิ์ในการทำงาน และการตัดสินใจทางคลินิกขณะปฏิบัติงานของพยาบาลเวชปฏิบัติในเขตภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeA study of resilience, autonomy, and clinical decision-making of nurse practitioners in Eastern regionen
dc.typeResearch
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study resilience, autonomy, and clinical decision-making of nurse practitioners in the eastern region of Thailand. The samples include nurse practitioners who work in Health care centers, Tambon health promoting hospitals, community hospitals, and general hospitals in the eastern region. The research instruments included demographic data questionnaires. resilience questionnaires of connor-davidson, autonomy questionnaires of Dempster and clinical decision-making questionnaires of Chumbler, Geller, and Weier. Data was analyzed by descriptive statistics. The findings of this research showed that resilience of nurse practitioners is at a slightly good level (70.71 percent); autonomy of nurse practitioners is at a slightly good level (76.91 percent) and clinical decision-making of nurse practitioners is not at a good level. (26.79 percent). The findings of this research could be used by health administrators as a guideline to improve the performance of nurse practitioners.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_030.pdf1.21 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น