กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1399
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | โกวิทย์ ทะลิ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:32Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:32Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1399 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยงานออกแบบมีเดียสามมิติเสมือนจริง ชุด "มุมมองที่แตกต่าง" เป็นการพัฒนาปฏิบัติงานในเชิงสร้างสรรค์ (Action Research) เป็นการทดลองความสามารถของเทคโนโลยีมาเป็นเทคนิคในงานศิลปะและผสมผสานสร้างสรรค์ผลงานประเภทดิจิตอลอาร์ต (Digital Art) คอมพิวเตอร์อาร์ต (Computer Art) และวีดีโอ อาร์ต (Video Art) เพื่อสรา้งประสบการณ์ใหม่ทางสุนทรียะ โดยมีเนื้อหาแนวความคิด (Theme) รูปแบบ (Pattern) และวิธีการ (Technique) เกี่ยวกับความเสื่อมศรัทธาคุณค่าของการดำรงชีวิต ผลการวิจัยพบว่า การสรา้งสรรค์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมุมมองขณะนั้นแบบฉับพลัน การจัดวางผลงานในลักษณะต่าง ๆ การนำเสียงเข้ามาประกอบทำให้เกิดสิ่งเร้าและกระตุ้นให้ผู้ชมสนใจผลงานเพิ่มขึ้นและมีส่วนร่วมกับผลงานจะทำให้เกิดปฏิกิริยาของผู้ชมมีการเปิดรับประสบการณ์ในการรับชม นอกจากนั้นยังทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่จากการศึกษางานสรา้งสรรค์ เช่น จำกัดเรื่องของแสง ข้อจำกัดเรื่องปริมาณผู้เข้าชมผลงาน การเลือกวัสดุที่มีผลต่อการจับภาพจากกล้อง อย่างไรก็ตาม แนวคิดในศิลปะช่วงหลังสมัยใหม่ (Postmodern Art) ในปัจจุบันความหลากหลายทางความคิดและเทคโนโลยี มีวิวัฒนาการและความหลากหลาย การใช้สื่อสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ ๆ มากขึ้น ในแนวทางของข้าพเจ้าทำให้เกิดประโยชน์และพัฒนาผลงานวิจัยสร้างสรรค์แนวทางคอมพิวเตอร์อาร์ต (Computer Art) แก่ข้าพเจ้าและผู้ที่สนใจศึกษาค้นคว้าต่อไป This is a research study on augmented reality design: "Different perspectives". It is a creative action research and also an experimental study on the capability of technology. The researcher uses those techniques in art and mixes them with digital art, computer art, and video art in order to create new aesthetic experiences which the contents are on theme, pattern, and technique about how we lose faith in the value of existence. The research result found that the technique of repidily change the view point of the view point of the artwork,as well as, incorporating sounds into the work can stimulate audience attention and get them to participate with the artwork as well. The artwork also generates audience reaction to open to the new experience on viewing the artwork. Moreover, this research study as well produces a new body of knowledge as the researcher has experimented on the among of light and the among of audience of audience, as how different materials effect the way camera catches images. However, the idea of Postmodern art in theses present days are quite vary on concepts and technology. There are the evolution and variety of how we use new different media. The researcher direction of this research creates benefits and development of the research outcome in a from of computer art and these result can be futher developed of anyone who interested in this field as well. | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยเชิงสรา้งสรรค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | งานออกแบบ | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | งานออกแบบมีเดียสามมิติเสมือนจริง ชุด "มุมมองที่แตกต่าง" | th_TH |
dc.title.alternative | Augmented reality design: Different perspectives | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2554 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น