กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1392
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เทพศักดิ์ ทองนพคุณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:32Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:32Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1392 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยเชิงสรา้งสรรค์ เรื่อง "รูปทรงไทย" (Thai Form) ในครั้งนี้เกิดจากแรงบันดาลใจที่จะสรา้งงานทัศนศิลป์สามมิติด้วยวิธีการประติมากรรมโลหะวิธีตรง (Direct metal sculpture ดังนั้นจึงได้ทำการค้นคว้าวิจัย ศิลปะไทย เพื่อค้นหารูปทรงที่เป็นอัตลักษณ์ของไทย และได้พบว่าลายไทยโดยเฉพาะลายกนก มีรูปทรงที่เป็นอัตลักษณ์ของศิลปะทั้งลายไทยที่เป็นลวดลายสองมิติ และลายที่เป็นประติมากรรมตกแต่งอาคารศาสนสถาน เช่น ช่อฟ้า ใบระกา หางหงษ์ ฯลฯ โดยทั้งหมดทีต้นกำเนิดมาจาก "ตัวเหงา" นอกจากนี้ยังพบว่า รูปทรงของศิลปะไทย นิยมนำรูปทรงธรรมชาติมาเป็นต้นแบบ เช่น ดอกไม้ เปลวไฟ ที่นิยมที่สุดคือ รูปทรงดอกบัว ดังนั้นจึงได้นำสิ่งที่พบมาเป็นแนวทางในการออกแบบรูปทรงไทย เมื่อออกแบบได้เรียบร้อย ก็นำมาสรา้งแบบจำลอง แล้วขยายแบบจำลองทำชิ้นงานจริงด้วยแผ่นโลหะคือเหล็ก ตักแผ่นเหล็กตามแบบที่แยกออกเป็นชิ้น ๆ ด้วยแสงเลเซอร์ แล้วนำมาประกอบเป็นรูปทรงด้วยการเชื่อมโลหะ จากนั้นทาสีกันสนิม และตกแต่งสีจริงด้วยสีสเปรย์ เมื่อชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยก็นำไปติดตั้งบริเวณอาคารคณะศิลปกรรมศาสตร์ ก็จะได้งานประติมากรรม "รูปทรงไทย" (Thai Form) ตามต้องการ ในการค้นคว้าวิจัยและสรา้งสรรค์ครั้งนี้ ยังพบว่า มีรูปทรงที่เป็นอัตลักษณ์ของศิลปะไทยอีกหลายชนิด ที่จะนำมาสรา้งสรรค์เป้นงานประติมากรรมร่วมสมัยได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก โครงการพัฒนาบุคลากรทางด้านวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ประติมากรรม - - ไทย | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | รูปทรงไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Thai Form | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | This creative research, named (Thai Form), was inspired by a making of three-dimensional visual art with using a direct metal sculpture technique which is one of the contemporary arts. Previously, the figures that symbolized Thai art were thoroughly studied. Consequently, it was found that " Khranok" individually reflected Thai figure. "Khranok" usually presented in both two-dimensional arts and sculptures decorated in the religious constructions, e.g. Chorphar, Bi-rhakhar and Hanghong. Anyway, all of these figures are originated from a form called "Tua-ngao". In addition, Thai figures were altered from nature, i.e. flower. "Thai-Form" was first designed and made as a model. The model was then enlarged into the actual scale by using iron plates. The iron plates were cut separately by laser beam and subsequently joined together to create the structure. Next, the prodeced structure was performed for rustproof and spray-coloring processes. The 'Thai Form' was then installed in front of the Faculty of Fine Arts. Burapha University. This research suggested that various Thai figures which represent the uniqueness of Thai art could be created as a contemporary sculpture. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น