กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1372
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุบลลักษณ์ รัตนศักดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:30Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:30Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1372
dc.description.abstractเถ้าลอยจากกระบวนการเผาแบบฟลูอิดไดซ์เบด (FBC) มีปริมาณแคลเซียมซัลเฟต (Ca ) สูงเนื่องจากขั้นตอนการเผามีการพ่นหินปูนเข้าไปเพื่อจับก๊าซ ได้เป็นสารประกอบแคลเซียมซัลเฟต ซึ่งสามารถทำปฏิกิริยากับอะลูมินาในเถาลอย FBC ในสภาวะเบสเกิดเป็นสารประกอบแคลเซียมซัลโฟอะลูมิเนต (หริเอททริงไกต์) ได้ งานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ต่อการเกิดเอททริงไกต์ในวัสดุจีโอโพลิเมอร์จากเถาลอย FBC นอกจากนี้ยัง ปรับปรุงสมบัติของจีโอโพลิเมอร์โดยการเพิ่มสารประกอบอะลูมิเนียม โดยการผสมเถ้าลอย FBC กับสารประกอบอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ สารละลายโซเดียมซิลิเกต และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เพื่อเปลี่ยนสารประกอบแคลเซียมในเถ้าลอยเป็นสารประกอบแคลเซียมอะลูมิเนตไฮเดรตและอะลูมิโนซิลิเกต ซึ่งให้กำลังแก่วัสดุจีโอโพลิเมอร์ ซึ่งพบว่าการใช้สารละลายโซเดียม”ฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 15 โมล่าร์ ไม่พบการเกิดเอททริงไกด์ และการใช้สารประกอบอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ไม่เกินร้อยละ 2.5 ของปริมาณเถ้าลอยในการผลิตจีโอโพลิเมอร์สามารถให้ค่ากำลังอัดที่ 90 วันเท่ากับ 35 เมกกะปาสคาล ในขณะที่การเพิ่มสารประกอบอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์เป็นร้อยละ 5 ทำให้เกิดสารประกอบโซเดียมอะลูมิเนตซึ่งมีผลต่อการค่ากำลังอัดที่ลดลง นอกจากนี้ พบการเคลื่อนตำแหน่งของพีท Si-Oในเถ้าลอยไปยังต่ำแหน่งเลขคลื่นต่ำลงในจีโอโพลิเมอร์ แสดงถึงเกิดการก่อพันธะ Si-Oใหม่ อย่างไรก็ตามความคงทนในพจน์ของกำลังอัดของจีโอโพลิเมอร์ในสารละลายกรดและเกลือลดลงเมื่ออายุการบ่มนานขึ้น และมีค่าคงที่เมื่ออายุบ่ม 90 วันth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectถ่านหินth_TH
dc.subjectวัสดุจีโอโพลีเมอร์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleวัสดุจีโอโพลิเมอร์ที่ผลิตจากเถ้าลอยจากกระบวนการเผาถ่านหินแบบฟลูอิดไดซ์เบด และสารประกอบอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์th_TH
dc.title.alternativeGeopolymeric material prepared from fluidized bed combustion-fly ash and aluminium hydroxideen
dc.typeResearch
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeFluidized bed combustion (FBC) fly ash contains high amount of calcium sulfate (Ca ) due to feeding of lime into the combustion process to capture the gases. The Ca can be formed and react with alumina in the FBC fly ash under base condition resulted in calcium sulfoaluminate (ettringite). Therefore, effect of sodium hydroxide (NaOH) concentration on ettringite formation in FBC fly ash geopolymer was studied. In addition, the properties of geopolymer was improved by the addition of aluminium compound. The geopolymer was prepared from FBC fly ash mixed with aluminum hydroxide (Al ), sodium silicate and sodium hydroxide solution which Al could convert the convert the calcium compound in FBC fly ash to calcium aluminate hydrate and aluminosilicate. It exhibited the strength the strength gain of geopolymer. It was found that there is no sign of ettringite formation when 15 M NaOH was used. Use of Al not exceed 2.5% by weight of FBC fly ash in geopolymer preparation gave the compressive strength of 35 MPa at 90 days, while that of Al at 5% by weight resulted in sodium aluminate formation and strength reduction. Moreover, Si-O peak of IR spectrum of fly ash shifted to lower wave number implying the new formation of Si-O bonding. However, the compressive strength of geopolymers immersed in acid and salt solutions decreased with increase in immersion time, and the strength was constant with curing age of 9 months.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น