กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1330
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกล่าวขวัญ ศรีสุขth
dc.contributor.authorเอกรัฐ ศรีสุขth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:27Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:27Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1330
dc.description.abstractเร่วหอมเป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceae ในแถบตะวันออกของไทยมีการใช้เหง้าเร่วหอมเป็นเครื่องเทศ งานวิจัยส่วนมากทำการศึกษาในส่วนของเหง้าเร่วหอม ในขณะที่ใบเร่วหอมที่มีจำนวนมากซึ่งเป็นของเหลือใช้ทางการเกษตรยังไม่มีการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพ ดังนั้นการวิจัยนี้จึงมีจุดมุ่งหมายที่ศึกษาเปรียบเทียบฤทธิ์ทางชีวภาพ (ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านอักเสบ และฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส) ของส่วนสกัดน้ำและน้ำมันหอมระเหยจากเหง้าและใบของเร่วหอม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระศึกษาโดยการทดสอบที่แตกต่างกันสามระบบได้แก่ การกำจัดอนุมูล 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazy1 (DPPH) ความสามารถในการรีดิวซ์ และความสามารถในการคีเลทไอออนของโลหะ ปริมาณสารประกอบฟีนอลของส่วนสกัดทดสอบโดยวิธี Folin-ciocalteu ฤทธิ์ต้านอักเสบถูกทดสอบโดยศึกษาการยับยั้งการผลิตไนตริกออกไซด์ในเซลล์แมคโครฟาจ RAW264.7 ที่ถูกกระตุ้นด้วยไลโพพอลิแซกคาร์ไรด์ (LPS) ทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ด้วยวิธี MTT จากการทดสอบพบว่าส่วนสกัดทั้งหมดแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้น ส่วนสกัดน้ำของใบเร่วหอมมีฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูล DPPH ความสามารถในการรีดิวซ์ ความสามารถในการคีเลทไอออนของโลหะ และมีปริมาณสารประกอบฟีนอลสูงกว่าส่วนสกัดจากเหง้า ในขณะที่ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของใบต่ำกว่าของเหง้า การต้านอนุมูลอิสระ การต้านอักเสบ และการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของน้ำมันหอมระเหยจากเหง้าและใบมีฤทธิ์ใกล้เคียงกัน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างส่วนสกัดพบว่าฤทธิ์ทางชีวภาพทุกชนิดที่ทดสอบของน้ำมันหอมระเหยสูงกว่าฤทธิ์ของส่วนสกัดน้ำยกเว้นฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูล DPPH การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันทำโดยเทคนิค GS-MS จากการวิเคราะห์พบว่า น้ำมันหอมระเหยของเหง้าและใบประกอบด้วยสารที่ระบุชนิดได้ 3 และ 4 ชนิด ตามลำดับ คิดเป็น 99.24 และ 96.73% ขององค์ประกอบของน้ำมันทั้งหมด น้ำมันหอมระเหยของเหง้าประกอบด้วย trans-anethole (94.81%), methyl chavicol (3.13%) และ &-Cadinene (1.30%) ในขณะที่น้ำมันหอมระเหยของใบประกอบด้วย methyl chavicol (93.41%), B-Selinene (1.11%), &-Cadinene (1.18%) and &-Selinene (0.70%) ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าส่วนสกัดน้ำมันหอระเหยของเหง้าและใบเร่วหอมแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านอักเสบ และฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส การค้นพบของเราแสดงให้เห้นว่าเหง้าและใบเร่วหอมเป็นแหล่งสารต้านอนุมูลอิสระ สารต้านอักเสบ และสารยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสที่อายจำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องสำอางth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) งบประมาณปี 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเร่วหอมth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของใบเร่วหอม: มูลค่าเพิ่มจากของเหลือทิ้งทางการเกษตรth_TH
dc.title.alternativestudy on biologival activity of leaves of Etlingera pavieana : Value added product from agricultural wasteen
dc.typeResearch
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeEtlingera pavieana (Pierre ex Gagnep.) R.M. Sm. Belongs to family Zingiberaceae. The rhizomes of E. pavieana are used as a spice in the east of Thailand. Research has mostly focused on the plant rhizomes and there is no report on biological activity from E. pavieana leave which is agricultural waste. Thus, this study aimed in comparing the biological activities (antioxidant, anti- Inflammatory and anti-tyrosinase activities) of the water extracts and essential oils of E. pavieana rhizomes and leaves. The antioxidant activities were determined by three different test systems namely, 2,2-diphenyl-l-picrylhydrazyl (DPPH) radical scavenging, reducing power and metal Chelating capacity. Total phenolic contents of the extracts were evaluated using the Folin-Ciocalteu method. The extracts were investigated the anti-tyrosinase activity by in vitro mushroom tyrosinase assay. Anti-inflammatory activity of the extracts was also evaluated by inhibition of nitric oxide (NO) production in lipopolysaccharide (LPS)-stimulated RAW264.7 macrophage cells. Cytotoxicity of plant extracts was determined by MTT assay. It was found that the antioxidant potential of all extracts showed a concentration-dependent manner. The water extract of leaves exhibited superior DPPH radical scavenging activity, reducing power, metal chelating capacity and phenolic content than that rhisomal extract. In contrast, the tyrosinase inhibitory effect of leaves was lower than that of rhizomes. The antioxidant, anti-inflammatory and anti-tyrosinase activities of essential oils from rhizomes and leaves are closer. The biological activities of essential oils were stronger than that of the water extracts in all tests except DPPH radical scavenging activity. Additionally, the chemical compositions of essential oils were investigated by GC-MS. The analyses revealed 3 and 4 identified constituents accounting for 99.24 and 96.73% of the oil composition from rhizomes and leaves, respectively. The rhizomal essential oil contained trans-anethole (94.81%), methyl chavicol (3.135) and Cadinene (1.30%) Whereas the chemical components of leaf essential oil were methyl chaviol (93.41%), -Selinene (1.44%), &-Cadinene (1.18%) and -Selinene (0.70%). The obtained results show that water extracts and essential oils of both leaves and ehizomes from E. pavieana possess Antioxidant, anti-inflammatory and anti-tyrosinase activities. Our finding demonstrates that leaves and rhizomes of E. pavieana could serve as source of antioxidants, anti-inflammatory agents and tyrosinase inhibitors which might be used in food and cosmetic industries.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น