กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1328
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจิตติมา เจริญพานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:26Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:26Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1328
dc.description.abstractการใช้สารไนไตร์ลและเอไมด์ที่เป็นพิษต่อระบบประสาทและมีแนวโน้มเป็นสารก่อมะเร็งในคนอย่างกว้างขวางส่งผลให้พบการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม แต่ในความเป็นพิษของสารกลุ่มนี้ยังมีจุลินทรีย์บางชนิดสามารถใช้พลังงานจากสารกลุ่มนี้ในการเจริญได้ ซึ่งได้มีการยืนยันแล้วว่าเอนไซม์ไนไตร์ลเลสหรือเอนไซม์ไนไตร์ล ไฮดราเทสร่วมกับเอนไซม์เอไมเดสเป็นเอนไซม์ที่ความสำคัญในการสลายไนไตร์ลหรือเอไมด์ของจุลินทรีย์เหล่านี้ ในโครงการวิจัยนี้ได้ใช้เทคนิคพีซีอาร์เพิ่มปริมาณชิ้นยีนที่กำหนดการสร้างเอนไซม์เอไมเดสใน Enterobacter aerogenes ซึ่งเป็นแบคทีเรียสลายอะคริลาไมด์ชนิดใหม่ และคาดเดาโครงสร้างสามมิติของเอนไซม์เอไมเดสโดยวิธีการสร้างแบบจำลองโครงสร้างคล้ายพบว่า เอนไซม์เอไมเดสมีลักษณะเป็นโปรตีนก้อนกลมแบบ &/B ที่ประกอบด้วยเกลียวแอลฟ่า จำนวน 6 เกลียว และแผ่นชีทบีต้า 6 สายจำนวน 2 แผ่น ที่มีความคล้ายคลึงร้อยละ 45 กับเอนไซม์ไนไตร์ลเลส ที่สามารถสลายพันธะ C-N ที่ไม่ใช่พันธะเพฟไทด์ของ Xanthomonas camprestis การวิเคราะห์ลำดับดีเอ็นเอของยีนเอไมเดสพบว่า กรดอะมิโนอลปาเทตตำแหน่งที่ 191 และเซรีนตำแหน่งที่ 196 เกี่ยวข้องกับบริเวณแอฟทีฟของเอนไซม์ ขณะที่กลูตาเมตตำแหน่งที่ 27 ไลซีนตำแหน่งที่ 92 และซีสเทอีนตำแหน่งที่ 126 เป็นกรดอะมิโนที่เกี่ยวข้องกับการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ การแสดงออกริคอมบิแนนท์เอไมเดสที่มี GST ติดอยู่ในเซลล์ให้อาศัย Escherichia coli พบเอนไซม์ขนาด 50 กิโลดาลตัน แต่มีการแสดงออกที่มากเกินไปจนจับกันเป็นก้อนตกตะกอนภายในเซวล์ในรูปของอินคลูชั่นบอดี้ โดยการเติมยาปฏิชีวนะร่วมในอาหารเลี้ยงสำหรับการแสดงออก ไม่สามารถลดการแสดงออกของริคอมบิแนนท์เอไมเดสในรูปของอินคลูชั่นบอดี้ในเซลล์ได้th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectสารปนเปื้อนth_TH
dc.subjectเอนไซม์th_TH
dc.titleการผลิตเอนไซม์ตรึงรูปที่มีศักยภาพในการสลายสารปนเปื้อนกลุ่มเอไมด์และไนไตร์ลth_TH
dc.title.alternativeconstruction of ad immobilized enzyme with the potential for amide/ nitrile degradationen
dc.typeResearchen
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeA widespread use and indiscriminate discharge of nitrile and amide, a neurotoxicant and Probably human carcinogen has led to their presence in environment. In spite of theirs general Toxicity, some microorganisms can derive energy from these compounds for growth. Either nitrilase or nitrile hydratase coupling with amidase has been confirmed as the responsive Enzyme for nitrile/ amide degradation. In this study, the amidase gene from Enterobacter aerogenes, a novel acrylamide-degrading bacterium was amplified by PCR techniques. The three-dimensional structure of E. aerogenes amidase was predicted based on homology modeling. The enzyme was a / globular protein comprising mainly six  helices and two six-stranded  sheets and showed 45% identity with nitrilase, a nonpeptide C-N hydrolyzing enzyme, from Xanthomonas camprestis. Analysis of the amidase gene sequence suggesting the involvement od D191 and S196 as the active site and the catalytic triad (E27, K92 and C126) has been found. Expression of the GST-fused amidase with a Mr of 50 kDa in Eschericia coli resulted in only insoluble particles (inclusion bodies) and the addition of antibiotic for expression could could not reduce this problemen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น