กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1314
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นฤมล ลี้ปิยะชาติ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:25Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:25Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1314 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาว่าคำกิริยาภาษาญี่ปุ่นในคำพ้องรูปคันจิมีจำนวนประมาณเท่าไหร่ และศึกษาความแตกต่างของคำกิริยาภาษาญี่ปุ่นในคำพ้องรูปสมบูรณ์ในแง่เสียงอ่าน ความหมาย และการใช้ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร จากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าจากตัวอักษรที่ยังใช้อยู่ทั้งหมด 2,636 ตัวในพจนานุกรมที่นำมาใช้ในการวิจัยนี้มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในรูปคำกิริยาได้ทั้งหมด จำนวน 874 ตัวอักษร เป็นคำกิริยา จำนวน 1,455 คำและพบว่ามีคำพ้องรูปสมบูรณ์จำนวนทั้งหมด 48 ชุด หรือ 97 คำ จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบคำกิริยาในแต่ละชุดทั้ง 48 ชุดนี้พบว่าคำกิริยาพ้องรูปมีความแตกต่างกันพอสรุปได้ดังนี้คือ คำกิริยาพ้องรูปที่มีความหมายใกล้เคียงกันมีจำนวนมากถึง 22 ชุด ในขณะที่คำพ้องรูปที่มีความหมายต่างกันอย่างชัดเจนมีเพียง 4 ชุด ในขณะเดียวกันยังมีลักษณะของคำพ้องรูปที่ไม่ใช้แล้วทั้งสองคำ จำนวน 2 ชุด คำพ้องรูปที่นิยมใช้เพีนงคำเดียวมีจำนวน 10 ชุด คำพ้องรูปที่เปลี่ยนการเขียนคำในคู่นั้นเป็นฮิระงะนะ จำนวน 6 ชุด และคำพ้องรูปที่เปลี่ยนตัวเขียนคันจิคำหนึ่งในคู่นั้นเป็นคันจิตัวอื่นอีก 4 ชุด จากลักษณะที่กล่าวมานี้ทำให้เห็นว่าคำพ้องรูปมีการเปลี่ยนแปลงรูปการเขียนไปซึ่งมีแนวโน้มว่าจะทำให้เกิดรูปที่แตกต่างและไม่เป็นปัญหากับผู้เรียนมากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ พ.ศ. 2555 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คันจิ | th_TH |
dc.subject | คำพ้องรูป | th_TH |
dc.subject | ภาษาญี่ปุ่น | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | การศึกษาคำกริยาภาษาญี่ปุ่นในคำพ้องรูปคันจิสมบูรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | The study of Japanese verbs written in complete Kanji homographs | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to examine the number of Japanese verbs in kanji homographs, and to study the differences existing in those written in complete Kanji homographs. It was found that were 2,636 kanji scripts that were still used in the dictionary used for this research. And from this amount, there were only 874 kanji script that could be used in verb forming words. The number of word in verb form was 1,455 words which appeared in 48 sets, or 97 words, of complete homographic form. Studying each set of those homographic verbs which resembled closely in meaning was 22 sets, which was rather high amount. On the contrary the number of homographic verbs which could be apparently distinguished in meaning wastoo small; there were only 4 sets found. At the same time, there were 2 sets of the archaic homographic verb, and 10 sets of those used only one in each set. There were 6 homographic sets which changed their graphic forms from kanji to hiragana, and the other 4 sets which changed into different kanji script. From the linguistic phenomenon mentioned above, it was noticed that the homographic forms were under diversifying to differentiate themselves in order not to cause problems for language use. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_144.pdf | 5.33 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น