กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1297
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฐวรรณ สินาโรจน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1297
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาปัญหาในการเรียนการสอนภาษาเกาหลีของนิสิตวิชาเอกภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อให้ทราบปัญหาในการเรียนวิชาภาษาเกาหลีของนิสิต อีกทั้งนำผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแผนพัฒนาหลักสูตรวิชาเอกภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และเป็นแนวทางให้แก่ผู้ที่สนใจการเรียนการสอนภาษาเกาหลีต่อไป ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ นิสิตชั้นปีที่ 1-4 วิชาเอกภาษาเกาหลี (ภาคปกติ) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวนทั้งสิ้น 151 คน ด้วยแบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบปลายเปิด หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดแล้ว ได้นำแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความถูกต้องและสมบูรณ์ของคำตอบ และนำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ประเภทค่าความถี่ ค่าร้อยละ และนำเสนอเป็นรูปแบบความเรียงประกอบกับแผนภูมิวงกลมและแผนภูมิแท่ง ผลการสำรวจพบว่าเหตุผลที่นิสิตเลือกเรียนวิชาเอกภาษาเกาหลี เนื่องจากชอบดาราและศิลปิน และจากการสำรวจครั้งนี้ทำให้ทราบปัญหาในการเรียนภาษาเกาหลีของนิสิตว่า มีปัญหาด้านภาษาและปัจจัยอื่น ๆ ผลการสำรวจปัญหาด้านภาษาอันประกอบไปด้วย ปัญหาการออกเสียงภาษาเกาหลี ในเรื่องกฎการออกเสียงมากที่สุด ปัญหาในการเรียนคำศัพท์ภาษาเกาหลีที่นิสิตคิดว่ายากที่สุด คือ สุภาษิต สำนวน ปัญหาในการเรียนไวยกรณ์ภาษาเกาหลีของนิสิตพบว่า มีปัญหาเรื่องประโยคมากที่สุด รองลงมาปัญหาเกี่ยวกับตำราและเอกสารประกอบการสอนที่มีปัญหามากที่สุดคือ คำอํบายประกอบเข้าใจยาก ปัญหาเกี่ยวกับอาจารย์ชาวไทยและชาวเกาหลี พบว่าสอนเร็วและยากเกินไป มากที่สุด ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียน ผลสำรวจพบว่านิสิตเรียนไปแล้วลืม มากที่สุดth_TH
dc.description.sponsorshipได้ทุนสนับสนุนจากเงินรายได้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2555en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectภาษาเกาหลีth_TH
dc.titleปัญหาในการเรียนภาษาเกาหลีของนิสิตวิชาเอกภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeSurvey on Problems of Korean Major students in Faculty of Humanities and Social Sciences at Burapha Universityen
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to assess the problems of studying Korean language in order to improve the curriculum for Korean major students and helps those who are interested in Korean language. The population of this research consisted of 151 Korean language major students in the Faculty of Humanities and Social Sciences at Burapha University during their 2nd semeter of 2013 academic year. This research was conduced through questionnaires to collect the required information. This data was analyzed using descriptive ststistics and presented by charts. The research showed that the population chose to be a Korean language major because they were interested in Korean pop icons. Most of the population agreed that Korean phonetic rules were the most difficult part of pronunciation. Korean vocabulary is difficult because of its frequent use of adages, which contain old and complicated words Sentence construction was the most difficult part of grammar. The textboks and classroom materials gave complicated explanations and stories that don't correspond to the lesson. Students noted that the Thai and Korean teachers gave complicated explanations too quickly, which made it difficult for the students to follow the lesson. To improve the foreign language education system, teachers need interesting texts and methods to attract the students's attention. Also, the students should be self-motivated to study the language by applying their learned skills outside of class.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_079.pdf5.23 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น