กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1279
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอานนท์ วงษ์แก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1279
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนอิลิเมนต์ในการวิเคราะห์หาพฤติกรรมการรับแรงของคาน-เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเริ่มจากการพัฒนาแบบจำลองไฟไนอิลิเมนต์วัสดุคอนกรีต (Exp. 1, Exp.2) ทรงกระบอกขนาด 15x30 ซม. และแบบจำลองไฟไนอิลิเมนต์เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (RC1, RC2) หน้าตัดสี่เหลี่ยมขนาด 20x20 ซม. เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์แบบจำลองกับผลการทดสอบตัวอย่างในห้องปฏิบัติการ จากนั้นทำการพัฒนาแบบจำลองไฟไนแอลิมเนต์ของคาน-เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (bc1, bc2) ผลการวิเคราะห์แบบจำลอง Exp.1 และ Exp.2 เทียบกับผลการทดสอบตัวอย่างพบว่าแบบจำลองมีความถูกต้อง แม่นยำสูง สามารถทำนายกำลังอัดของคอนกรีตได้ดีมาก โดยเฉพาะเมื่อใช้ข้อมูลค่าความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดอัดของคอนกรีตจากผลการทดสอบคอนกรีตในห้องปฏิบัติการแบบจำลองเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก RC1 และ RC2 สามารถทำนายแรงอัดสูงสุดของเสาได้ค่อนข้างดีมีค่าคลาดเลื่อน จากผลการทดสอบเท่ากับ 2.09% และ 11.15% แต่ทำนายค่าการยุบตัว ณ ตำแหน่งแรงอัดสูงสุดได้น้อยกว่าผลการทดสอบพอสมควร นอกจากนี้ยังสรุปได้ว่าการใช้สมการหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเค้นและความเครียดอัดของคอนกรีตโดย Desayi & Krishnan [21] กับแบบจำลองไฟไนอิลิเมนต์เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถทำนายค่าแรงอัดสูงสุดได้ดีมาก แต่อาจไม่สามารถทำนายค่าการยุบตัวได้ดีเท่าที่ควร ในส่วนของแบบจำลอง bc1 และ bc2 พบว่าพฤติกรรมของแบบจำลองข้อต่อ bc1 แสดงพฤติกรรมที่ดีกว่าแบบจำลองข้อต่อ bc2 อย่างชัดเจนทั้งในด้านการรับแรงและการเสียรูป ทั้งนี้เป็นผลมาจากการหยุดเหล็กในคานที่หน้าเสาโดยไม่ยื่นต่อเข้าไปในเสาของแบบจำลอง bc2 นอกจากนี้ยังพบว่าลักษณะรอยแตกร้าวของแบบจำลอง bc1 จะเกิดขึ้นทั่วบริเวณหลังคานส่วนของแบบจำลอง bc2 นั้นพบว่าตำแหน่งการแตกร้าวของแบบจำลองเกิดกระจุกตัวที่บริเวณรอยต่อระหว่างคานและเสาด้านบนth_TH
dc.description.sponsorshipรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ปีที่ 1ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2554 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคานth_TH
dc.subjectแผ่นพื้นสำเร็จรูปคอนกรีตth_TH
dc.subjectเสาth_TH
dc.subjectเสาคอนกรีตเสริมเหล็กth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleพฤติกรรมคาน-เสา-แผ่นพื้นสำเร็จรูปคอนกรีตเสริมเหล็กของเสาต้นริมที่ก่อสร้างในประเทศไทยภายใต้แรงแผ่นดินไหวth_TH
dc.title.alternativeBehavio of reinforced concrete beam-column-plank slabs of exterior columns constructed in Thailand under earthquake loaden
dc.typeResearch
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThis study presents Finite Element (FE) Analysis of reinforced concrete beam-colum connections. First, the finite element models (FEM) of concrete materials with cylindrical shape of 15x30 centimeters (Exp.1 and Exp.2) were created and analyzed. The results show that FEMs of concretes have high accuracy to predict almost the entire stress-strain curves especially when using the compressive stress-strain diagram from the experiments. After verification of the concrete models, then the FEMs of reinforced concrete columns with a square section of 20x20 centimeters (RC1 and RC2) were developed. Both FE models show a very good comparison of maximum compressive forces with results tested in the laboratory by the discrepancy of 2.09% and 11.15%, respectively. However, the models are not quite accurate in computing the specimen deformations. By using the concrete model proposed by Desayi and Krishnan [21], the FE models of reinforced concrete columns show excellent results on calculating the maximum compressive forces but not the maximum deformations of columns. The FE models of two beam-column connections (bc1 and bc2) were developed and analyzed. The results indicate that model bc1 show much better behavior in terms of strength and deformation than model bc2. This is primarily because the main steels in the beam were stopped at the face of column. On the other words, the main steels from the beam discontinue into the column. Therefore, the load transfer from the beam to the column in ineffective comparing to the model bc2. Also, the consistent results can be obtained from the crack pattern. The crack pattern of model bc1 shows a distribution of cracks over the top beam surface. However, the crack pattern of model bc2 show highly concentration of crack at the interface area between the beam to column.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น