กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12791
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาติ เถาทอง | |
dc.contributor.advisor | อิทธิพล ตั้งโฉลก | |
dc.contributor.author | ภานุ สรวยสุวรรณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T06:51:30Z | |
dc.date.available | 2024-02-05T06:51:30Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12791 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. ) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์ภาพเรือนร่างสตรีที่ปรากฏบนสื่อโฆษณา โดยผู้วิจัยเลือก วิเคราะห์กาพเรือนร่างในนิดขสารผู้หญิง ผู้วิจัยมีความเห็นว่าภาพเรือนร่างเหล่านี้เป็นสิ่งหนึ่ง ที่สะท้อนปรากฏการณ์สังคมบริโภคได้อย่างชัดเจน โดยภาพความหมายของเรือนร่างที่ได้จาก การวิเคราะห์จะนำไปเป็นกรอบแนวความคิดในการสร้างสรรค์เป็นผลงานทางทัศนศิลป์ การดำเนินงานวิจัยนี้ได้แบ่งไว้เป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการวิจัยภาพเรือนร่างใน กลุ่มนิดขสารสตรีซึ่งแยกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนิตยสารสตรีสำหรับคนมีรายได้สูงหรือคนใน สังคมเมือง กลุ่มนิตยสารสตรีสำหรับวัยรุ่น และกลุ่มนิตยสารสตรีสำหรับแม่บ้านหรือคนมีรายได้ น้อย การวิเคราะห์จะอยู่บนพื้นฐานของหลักการทางสังคมวิทยา ทฤษฎีสัญญะวิทยา และ การวิเคราะห์ภาพทางทัศนศิลป์ ความหมายของภาพเรือนร่างสตรี ที่ได้จากการวิเคราะห์จะเป็น เสมือนภาพตัวแทนทางวัฒนธรรม สังคม ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิชมทางสังคมที่ผู้วิจัยได้คั่นพบ ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ในส่วนแรกจะนำไปบูรณาการสู่การคำเนินงานในส่วนที่สอง ซึ่งเป็นการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ วัตถุประสงค์ของการสร้างผลงานทางทัศนศิลป์นี้ ผู้วิจัย ต้องการนำเสนอให้เห็นถึงภาพเรือนร่างของสตรี สามารถเป็นสื่อกลางของมาขาคติ สัญญะ และ รหัสความหมาย รวมถึงทัศนธาตุทางศิลปะ แสดงให้เห็นภาพลักษณ์เรือนร่างสตรีเป็นเสมือน การประกอบร่วมกันของความงาม รสนิชม และสถานะที่ใช้ในการสื่อสาร โน้มน้ำวใจ ให้กับ กลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันในสังคมบริโภค | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | สตรี | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | ทัศนศิลป์ | |
dc.subject | โฆษณา -- การออกแบบ | |
dc.title | เรือนร่างสตรีบนเสื่อโฆษณาในสังคมบริโภค | |
dc.title.alternative | Women’s body on advertising media in the consumer society | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This study is an analysis of women’s body images appearingon advertising media especially from woman magazines. Regarding woman’s bodythese images can reflect the phenomena of consumer society. The meanings from these images will be analyzed and synthesized to form a conceptual framework for creating works of art. The study is divided into two parts. The first part is to analyze the women’s body images onadvertisements in magazines targeting three groups of women readers, classifying by their conditions of economic status, life styles and ages. The first group is the magazines for women with high incomes andliving in the cities, the second is for teenagers and the thirdis for women with low incomes. The analysis is based on the principle of sociology, semiotic and visual image analysis. From this analysis, the representations of social culture, belief, and attitude or value will be explored. The result from the analysis in the first part will guide the ways to create integrated visual arts in the second part. The purpose of the created art work is to present women’s body as a medium of myth, signs, signifiers and code of meanings including visual elements of arts. It is to portray the images of women as a composite of women’s beauty, taste and status that are used to be persuasive communication to the different target groups in the consumer society | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 180.02 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น