กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12789
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ พลีรักษ์ | |
dc.contributor.author | สุเมธ สายสมุทร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์. | |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T06:51:28Z | |
dc.date.available | 2024-02-05T06:51:28Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12789 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558 | |
dc.description.abstract | การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย การจัดการการท่องเที่ยวที่ดีจะส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจของประเทศ และประชาชน ในการวิจัยนี้ได้เน้นศึกษาเฉพาะ แหล่งท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในชุมชนไม่ใช่แหล่งท่องเที่ยวหลัก การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและประเมินความเป็นไปได้ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว จัดทำฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและจัดรูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี ระของ จันทบุรี และตราด การสำรวจที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว โดยใช้ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (Global Positioning System : GPS) การจัดทำฐานข้อมูลและแผนที่แหล่งท่องเที่ยวโดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) ส่วนการวิเคราะห์เส้นทางการท่องเที่ยวนั้นได้ใช้การวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis) ใน GIS โดยพบว่าในจังหวัดชลบุรีมีแหล่งท่องเที่ยว 57 แห่ง ระยอง 25 แห่ง จันทบุรี 28 แห่ง และตราด 22 แห่ง รวมทั้งสิ้น 132 แห่ง และมีแหล่งท่องเที่ยว 4 ประเภทแบ่งออกเป็น แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ 89 แห่ง วัฒนธรรม 11 แห่ง ธรรมชาติ 20 แห่ง และนิเวศ 12 แห่ง งานวิจัยนี้ได้นำเสนอเส้นทางท่องเที่ยว 6 เส้นทาง โดยจัดทำจากฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงและนำไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการท่องเที่ยวประชาสัมพันธ์ และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ไทย -- จันทบุรี | |
dc.subject | การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ไทย -- ชลบุรี | |
dc.subject | การท่องเที่ยว -- การจัดการ | |
dc.subject | การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ไทย -- ตราด | |
dc.subject | อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | |
dc.subject | การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ไทย -- ระยอง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.subject | ภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.title | การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการการท่องเที่ยว กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด | |
dc.title.alternative | Geoinformtion technology for mnging tourlsm : cse study in Chonburi, Ryong, Chnthburi | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Tourism is the major industry that generates income for Thailand. A good tourism management will affect the whole economy of the country and people. The objective of this study were to survey and assess opportunities of tourist attractions development, and create a database of tourist attractions and routes in Chon Buri, Rayong, Chantaburi and Trat. The locations of the tourist attractions were surveyed using Global Positioning System (GPS). The database and maps of tourist attractions were made using GIS technique meanwhile tourism routes were evaluated using Network Analysis method. The results found 57 attractions in Chon Buri, 25 in Rayong, 28 in Chantaburi, and 22 in Trat, The tourist attractions were divided into 4 types; 89 of historical attractions, 11 of cultural attractions, 20 of natural attractions and 12 of ecological attractions. Six tourist routes created from database and then they were proposed to the tourists and related offices for promoting and developing tourism in study area. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
55920789.pdf | 98.54 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น