กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12774
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภรดี พันธุภากร | |
dc.contributor.advisor | มนัส แก้วบูชา | |
dc.contributor.author | ปาจรีย์ สุขาภิรมย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T06:44:07Z | |
dc.date.available | 2024-02-05T06:44:07Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12774 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. ) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันชุมชนในประเทศไทยหลายแห่งกำลังได้รับผลกระทบจากการพัฒนา ส่งผลให้ ชุมชนเก่าแก่ต้องเผชิญกับปัญหาทั้งด้านวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม ชุมชนบางปลาสร้อยเป็น ชุมชนดั้งเดิมที่กำลังประสบปัญหาดังกล่าว การวิจัยชุมชนบางปลาสร้อย: การอนุรักษ์และพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ศึกษาภูมิสังคมและวัฒนธรรมชุมชนบางปลาสร้อย และเสนอแนวทางอนุรักษ์พัฒนาพื้นที่ชุมชน วิธีดำเนินการใช้ กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาเอกสาร สำรวจพื้นที่ สัมภาษณ์เชิงลึกประกอบกับการสังเกต ชุมชน นำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนบางปลาสร้อยเปีนชุมชนชายฝั่งทะเลเก่าแก่ พบหลักฐานการตั้ง ถิ่นฐานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา และถึงแม้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพื้นที่ชุมชนไปตามกาลเวลา แต่ยังคงเหลือร่องรอยทางด้านสถาปัตยกรรม วิถีชุมชน รูปแบบผัง การตั้งถิ่นฐาน ที่ยังคงมีความเชื่อมต่อกับช่วงเวลาของการก่อตั้งชุมชน สำหรับแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนนั้นมีสาระสำคัญ คือ การจัดการ โดยสรุปข้อค้นพบจากการศึกษาสำรวจและคัดเลือกบ้านเรือนที่มีลักษณะเป็นตัวแทนชุมชน จัดทำเส้นทางการท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงประวัติความเป็นมาของพื้นที่ชุมชน เพื่อสื่อความหมายคุณคำของพื้นที่ชุมชนได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ก่อให้เกิดการเรียนรู้วิถีชีวิตและสถาปัตยกรรมของชุมชนและชุมชนได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการอนุรักษ์และพัฒนา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการอนุรักข์พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนจำเป็นจะต้องผลักดันให้เกิดการดูแล กติกาชุมชนและจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์และภาคภูมิใจที่จะ ดำรงรักษาคุณค่าของชุมชนให้คงอยู่ได้อย่างยั่งยืน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | ชุมชน -- ไทย -- ชลบุรี | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.title | ชุมชนบางปลาสร้อย : การอนุรักษ์และพัฒนา | |
dc.title.alternative | Bangplasoi community: conservation and development | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | At present, most communities in Thailand are affectedby the development lackingof participatory process. Thus, they are facing to cultural and environmental problems. Although Bangplasoi Community is a traditional community, it is also facing to thisproblem. The purpose of Bangplasoi Community: conservation and development is (1) to studyhabitation and community development. (2) to study social and cultural landscape of Bangplasoi Community. (3) to create cultural heritage preservation methods. Qualitative methods are used in the research in various methodological approaches, such as documentary research, survey, in-dept interview, and observation with descriptive analysis. The result found that Bangplasoi is a coastline community that had been settled since Krungsri Ayuddhaya era. Although the community was changed, it still has trail of architecture, folk way, city plan, and habitation which connect to timeline. The important method of community preservation and development is to manage the selected houses as the representative mode of community-identity. Moreover, to communicate and fulfill values into the communities are tourism management and activities including the history of Bangplasoi which can be advantages for both tourists to obtain leaning experiences and the community to make more budgets from the economy. However, it is needed to urge the community leads to set up community rules and activities that encourage the community members to realize and to proud to preserve their cultural heritage for sustainable. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 214.43 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น