กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12748
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บรรพต วิรุณราช | |
dc.contributor.author | โสภณ เรืองกิตติกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T06:35:39Z | |
dc.date.available | 2024-02-05T06:35:39Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12748 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจและลดความไม่พึงพอใจ ในการปฏิบัติงาน เปรียบเทียบระดับของแรงจูงใจกับความพึงพอใจตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ศึกษาแรงจูงใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร วิเคราะห์ ข้อมูลด้วย SPSS สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test รวมถึง หาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและความพึงพอใจ โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 72 มีอายุระหว่าง 20-30 ปี มากที่สุดร้อยละ 41 ระดับการศึกษาต่ำกว่า ม. 6 มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 58 มีสถานภาพ สมรสมากที่สุดร้อยละ 51 ส่วนมากมีอายุงานน้อยกว่า 1 ปี ร้อยละ 53 เป็นพนักงานชั่วคราวมาก ที่สุดร้อยละ 89 ระดับแรงจูงใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ระดับความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง พนักงานที่มีเพศต่างกัน สถานภาพสมรสต่างกัน อายุงานต่างกัน สถานะประเภท พนักงานต่างกัน มีระดับแรงจูงใจและความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน ระดับแรงจูงใจกับความพึง พอใจมีความสัมพันธ์สอดคล้องไปในทางเดียวกันเชิงบวกในระดับปานกลาง จากผลการศึกษาพบว่า ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน มีระดับปานกลางต่ำกว่าทุกด้าน สาเหตุจากลักษณะธุรกิจเป็นงานรับเหมาก่อสร้าง พนักงานจึงมีความรู้สึกที่ไม่มั่นคง สอดคล้องกับ ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบิร์ก ที่กล่าวว่า ความมั่นคงก้าวหน้ในหน้ที่การงาน จะเป็นสิ่งจูงใจ ให้บุคลากรในองค์กรอยากทำงาน อีกทั้งยังพบว่าพนักงานที่มีเงินเดือนมากกว่า แต่มีระดับความพึง พอใจด้านนี้ต่ำกว่าพนักงานที่มีรายได้น้อยกว่า ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีของมาสโลว์ที่ว่า คนทุกคนมี ความต้องการซึ่งความต้องการนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่าง งานวิจัยนี้ยังพบว่าแรงจูงใจและความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กันเชิงบวก หมายถึง เมื่อความพึงพอใจเพิ่มขึ้นก็มีโอกาสช่วยลดความไม่พึงพอใจและจะไปเพิ่มแรงจูงใจในการทำงาน ได้ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบิร์ก ที่กล่าวว่า ปัจจัยที่ช่วยลดความไม่พึงพอใจในการทำงาน เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานโดยตรง เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นที่พนักงานจะต้องได้รับการสนองตอบ แต่ไม่ได้หมายความว่า ถ้าให้ปัจจัยเหล่านี้แล้วจะทำให้พนักงานเกิดความพึงพอใจในการทำงาน แต่ก็มีโอกาสที่จะไปเพิ่มแรงจูงใจในการทำงาน | |
dc.language.iso | th | |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | ความพึงพอใจในการทำงาน | |
dc.subject | ความพึงพอใจ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.subject | แรงจูงใจ (จิตวิทยา) | |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจและลดความไม่พึงพอในการปฏิบัติงานของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท ซีซีเอส คอร์ปอเรชั่น จำกัด | |
dc.title.alternative | Fctor Effecting Motivtion nd Reduced Job Disstisfction of CCS Corportion Compny Limited’ s Workers | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This study aims to investigate the factors affecting the motivation and reduction of job dissatisfaction. The comparison was between the level of motivation and satisfaction according to personal basic factors. This study also looks for the relationship between motivation and job satisfaction. The research framework was applied from the Two-Factor Theory of Herzberg and the other researchers. The samples were 508 employees from the CCS Corporation Limited, the research tool was the questionnaire, the reliability was 0.935, data analysed by Statistical Package for the Social Sciences. The statistics used were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test including the correlation between the motivation and job satisfaction by using Pearson Correlation Coefficient. There was a focus group for a specific issue in order to summarize and discuss the result. The studied samples were mostly males: 72 percent, 41 percent represented aged between 20-30 years old, 58 percent of them hold degree under grade 12, 51 percent of them married, 53 percent working experience was less than one year. 89 percent of them worked temporally, 46 percent of samples had wages between 10,000-20,000 baht. The overall motivation was in high level and job satisfaction was average, the different gender, different marital status, different age, different job position had no different motivation and job satisfaction. However, the different age, different education, different wages had different motivation and satisfaction. Some pairs had the motivation and the satisfaction correlated approximately in the positive direction. From the study results, it was found that the workers had more motivation but the job promotion was lower than the other aspects. The cause was because of the building work and most of them were temporary workers, consequently they felt insecure. This related to TwoFactor Theory of Herzberg which stated that job security was the motivation for workers in the organization. The worker’s satisfaction was average, the satisfaction of the wages and welfare were lowest and it also found that the workers whose salary higher than 40,000 had lower satisfaction than those workers who had lower income. According to Maslow's theory, everybody has various demands for all time, regardless from what you give to the company workers, you will never complete them or response them to make them motivated or satisfied like the way they want. This study found the motivation and satisfaction correlated positively which meant the higher satisfaction, the lower dissatisfaction. In addition, work motivation increased and this related to Two-Factor Theory of Herzberg which stated that factors reducing work dissatisfaction were the factors related directly to basic factors for worker’s response. However, this does not mean if these factors were provided to the workers, they would have more motivation, but there was a chance to increase job motivation. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
56710134.pdf | 2.15 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น