กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1272
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนิดา ตระกูลสุจริตโชค
dc.contributor.authorปริยา นุพาสันต์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1272
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การสังเคราะหือินเทอร์เพนิเทรทิงพอลิเมอร์เน็ตเวิร์ค ระหว่างไคโตซาน/พอลิ (ไฮดรอกซีเอทิล เมทาไครเลท) (CHI/PKEMA IPNs) ภายใต้สภาวะการทดลองต่าง ๆ โดยพอลิเมอไรเซชันของไฮดรอกซีเอทิล เมทาไครเลทมอนอเมอร์ถูกริเริ่มด้วย K2 S2 O8 และพอลิเมอร์โครงสร้างร่างแหของไคโตซานถูกเตรียมขึ้นโดยใช้กลูตารัลดีไฮด์เป็นสารเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล สมบัติของ IPNs ที่เตรียมขึ้นถูกวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องกราด เทคนิคฟูริเออร์ทรานฟอร์มอินฟราเรด สเปกโทรสโกปี และการรวมตัวในตัวทำละลาย นอกจากนี้ IPN ที่อัตราส่วน 60CHI/40PHEMA ได้นำไปเตรียมเป็นคอมโพสิตเมมเบรนกับซิงค์ออกไซด์ขนาดอนุภาคระดับนาโนเมตร (nano-ZnO) จากนั้นวิเคราะห์สมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางความร้อน ส่วนสมบัติการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ถูกทดสอบโดยใช้จุลินทรีย์สองชนิดคือ S. aureus และ E.coli พบว่า CHI/PHEMA IPNs ไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ แต่ nano-ZnO IPN คอมโพสิตแสดงสมบัติการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียทั้งสองชนิด และประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มปริมาณ nano-ZnO ในคอมโพสิตth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนโครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectไคโตซานth_TH
dc.titleเมมเบรนไคโตซาน/พอลิ (อะคริเลต) อินเทอร์เพนิงเทรทิง พอลิเมอร์เน็ทเวิร์ค สำหรับใช้งานด้านชีวการแพทย์th_TH
dc.title.alternativeChitosan/poly (acrylate) interpenetrating polymer network membranes for biomedical applicationen
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to prepare interpenetrating polymer networks of chitosan/poly(hydroxyethyl methacrylate) (CHI/ PHEMA IPNs) under different experimental conditions. The polymerization of hydroxyethy1 methacrylate monomer was initiated by K2 S2 O8 while crosslinking of chitosan network was achieved using glutaraldehyde as a crosslinking agent. The properties of the prepared IPNs were analyzed by several techniques, such as scanning electron microscopy (SEM), Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR) and swelling test. Furthermore, the 60CHI/40PHEMA IPN was used to prepared composite membranes with zinc oxide nano-particles. The chemical, physical and thermal properties of the membranes were characterized. Their anti-microbial property was also investigated using two species of bacteria, the S. aureus and E. coli. The results showed that the IPN/ZnO nano-composites possessed antibacterial property while none of this property was observed from yhe pure-IPN. The antibacterial activity of the nano-composites was enhanced by increasing the amount of nano-ZnO.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น