กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12692
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง | |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก | |
dc.contributor.advisor | อภิสักก์ สินธุภัค | |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม | |
dc.contributor.author | ทศพล งามวิไลลักษณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:56:29Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:56:29Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12692 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เพื่อศึกษาการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องครัว ด้วยระบบโมดูลาร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ สําหรับห้องครัวที่มีพื้นที่ขนาดเล็ก เนื่องจาก ผู้วิจัยได้เห็นถึงปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยของผู้คนในปัจจุบันที่นิยมเลือกที่จะอยู่คอนโด หรือห้องชุด เป็นจํานวนมาก แต่ด้วยปัญหาของพื้นที่ภายในที่อยู่อาศัยประเภทนี้ มีข้อจํากัดในเรื่องของพื้นที่มาเกี่ยวข้อง การเลือกเฟอร์นิเจอร์มาตกแต่งจึงจําเป็นต้องคํานึงถึงการใช้งานของเฟอร์นิเจอร์ให้มีประโยชน์สูงสุด จากการได้ทําการสํารวจ ประเภทของเฟอร์นิเจอร์ พบว่า เฟอร์นิเจอร์ส่วนใหญ่เป็นเฟอร์นิเจอร์สําเร็จรูป ไม่ว่าจะเป็นเฟอร์นิเจอร์แบบ Build in หรือ Knock down ผู้บริโภคจึงไม่สามารถกําหนดรูปแบบการใช้งาน และพื้นที่ของเฟอร์นิเจอร์ในห้องครัวได้ด้วยตนเอง เป็นสาเหตุให้มีพื้นที่หรือเฟอร์นิเจอร์ชนิดเหลือจากการใช้งานโดยไม่จําเป็น เพื่อศึกษาการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องครัว ที่สามารถตอบสนองในเรื่องการใช้งานที่ผู้บริโภคสามารถกําหนดเองได้และในเรื่องของพื้นที่ขนาดเล็กที่มีการใช้งานของพื้นที่ ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ผู้วิจัยได้ทําการหยิบยก หลักการออกแบบของระบบโมดูลาร์มาใช้ จากการศึกษาพบว่า ระบบโมดูลาร์คือ ระบบที่ประกอบไปด้วยหน่วยแยกต่าง ๆ ที่สามารถรวมกันเป็นหน่วยเดียวได้ จะมีระยะสัดส่วนที่มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกัน ผู้วิจัยจึงได้นํามาเป็นแนวคิดและทําการวิเคราะห์รูปแบบของเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องครัว ผู้วิจัยได้ทําการออกแบบ เฟอร์นิเจอร์ภายในห้องครัว อ้างอิงขนาดสัดส่วนมาตรฐานของเฟอร์นิเจอร์ในท้องตลาด ใช้หลักการทํางานของระบบโมดูลาร์ มาใช้เพื่อกําหนดขนาดสัดส่วนของเฟอร์นิเจอร์โดยยึดถือหลักเกณฑ์การออกแบบที่ได้จากการสํารวจความคิดเห็นจากกลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | เครื่องเรือน -- การออกแบบ | |
dc.title | ระบบโมดูลาร์เพื่อการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องครัวไทยขนาดเล็ก | |
dc.title.alternative | Modulr system for furniture design in smll thi kitchen | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research was to study modular kitchen furniture system. The objective was to design kitchen furniture for small-sized kitchens. According to increasing values of living in condominiums or apartments in the present, the researcher is aware of residential problems such as the room scale. As a result, the criterion for furniture selection must be chosen under profit maximization. As of the surveys, most furniture categories were built-in furniture so consumers are not able to adjust their usages. This problem leads to unutilized a wide range of areas and unserved their purposes. The researcher offers a new approach with modularity in design that subdivides a system into smaller parts called modules. The researcher also creates a furniture system under the standard of proportions. The design was based on the target audiences from the survey results. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 51.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น