กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12662
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุรินทร์ สุทธิธาทิพย์
dc.contributor.advisorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.authorกันตภณ มนัสพล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2024-01-25T08:46:54Z
dc.date.available2024-01-25T08:46:54Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12662
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาตามทฤษฎีพฤติกรรมทางปัญญาที่ส่งผลต่อความทนทานทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และทดสอบผลของการให้การปรึกษาต่อการพัฒนาความทนทานทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองพัทยา 11 จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามความทนทานทางจิตใจ 48 ข้อ และโปรแกรมการให้การปรึกษาตามทฤษฎีพฤติกรรมทางปัญญา การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรม SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานและการเปรียบเทียบผล ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการให้การปรึกษาตามทฤษฎีพฤติกรรมทางปัญญาที่สร้างขึ้นส่งผลในการพัฒนาความทนทานทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยขนาดอิทธิพลใหญ่ของ Cohen ES .600 (95% CI [-26.176 ถึง -8.24]) การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่างในระยะหลังการทดลองไม่สามารถสรุปความแตกต่างของความทนทานทางจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้ โดยพบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบย่อยในด้านความยึดมั่นและการควบคุม ในขณะที่การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่างในระยะติดตามผลพบความแตกต่างของความทนทานทางจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางที่ p < .05 และพบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบย่อย ในด้านความยึดมั่น การควบคุม และด้านความท้าทายเป็นหลัก
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการควบคุมตนเอง
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectการปรับพฤติกรรม
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- การปรับพฤติกรรม
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
dc.titleผลของการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพฤติกรรมทางปัญญาต่อความทนทานทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
dc.title.alternativeThe effects of cognitive behviorl group therpy on mentl toughness of high school students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop the cognitive behavioral group counseling program to develop mental toughness of high school students, and to study the effects of the group counseling program on mental toughness of the high school students. The sample consisted of 12 high school students of Pattaya City 11 School, Thailand. The research instruments included a set of 48 items mental toughness questionnaire and a cognitive behavioral group counseling program. Data were analyzed by descriptive statistical analysis and multivariate analysis through SPSS for Windows. The results indicated that the cognitive behavioral group counseling program effected the mental toughness of the high school students with the Cohen’s large scale effect ES of .600 (95% CI [-26.176 to -8.24]). The mean different of mental toughness scores between samples after treatment period could not indicate the significant difference, however the commitment and control factors showed a tendency of improvement on commitment relationship and control. While the mean differences of mental toughness score during following up period indicated the significant different at .05 level. The tendency of change was found on the sub elements of commitmenr relationship, control and challenge.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.79 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น