กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12658
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพรรณ กาญจนสุธรรม | |
dc.contributor.advisor | ณรงค์ พลีรักษ์ | |
dc.contributor.advisor | แก้ว นวลฉวี | |
dc.contributor.author | นรเทพ ศักดิ์เพชร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:46:53Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:46:53Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12658 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบรายงานข้อมูลภัยน้ำท่วมเชิงพื้นที่แบบเรียลไทม์ 2) เพื่อประเมินการพัฒนาระบบรายงานข้อมูลภัยน้ำท่วมเชิงพื้นที่แบบเรียลไทม์ซึ่งวิธีการศึกษาผู้วิจัยได้พัฒนาระบบโดยใช้ภาษา PHP และฐานข้อมูล MySQL ส่วนการสร้างแผนที่ใช้ Google Maps API เป็นหลักในการพัฒนาตัวโปรแกรมและพัฒนาระบบในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนเว็บที่สามารถทํางานได้ในหลายระบบปฏิบัติการ ได้แก่ Android, iOS และ Windows เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงระบบได้สะดวกยิงขึ้น ผลการศึกษาพบว่า ระบบที่พัฒนาขึ้นมีจุดเด่น คือ 1) สามารถเก็บข้อมูลตําแหน่งพิกัดผู้ใช้งาน พิกัดสถานที่เกิดเหตุการณ์ รูปภาพ ข้อความ และรายงานสถานการณ์เชิงพื้นที่ผ่านหน้าเว็บที่เกิดขึ้นแบบเรียลไทม์ 2) สามารถทํางานได้ในหลายระบบปฏิบัติการผ่านบนระบบคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3) สามารถแสดงตําแหน่งพิกัดของผู้ใช้งานได้ และสามารถค้นหาสถานที่สําคัญ เช่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ประสานงานน้ำท่วม หน่วยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่ 4) ระบบสามารถกำหนดขอบเขตรัศมี จุดเสียง พื้นที่น้ำท่วม หรือพื้นที่เฝ้าระวัง ตามระดับความรุนแรงในพื้นที่ สําหรับผลการประเมินความพึงพอใจของระบบรายงานข้อมูลภัยน้ำท่วมเชิงพื้นที่แบบเรียลไทม์ ทั้ง 2 ด้าน พบว่า ด้านการออกแบบโปรแกรมมีคะแนนความพึงพอใจของระบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.725) ส่วนอีกด้าน คือ ด้านการใช้งานโปรแกรมพบว่า มีความพึงพอใจของระบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.985) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | Science and Technology | |
dc.subject | น้ำท่วม -- ไทย -- หาดใหญ่ (สงขลา) | |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ | |
dc.subject | การจัดการฐานข้อมูล | |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | |
dc.subject | ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์ -- การพัฒนา | |
dc.title | การพัฒนาระบบรายงานข้อมูลภัยน้ำท่วมเชิงพื้นที่แบบเรียลไทม์ กรณีศึกษา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | |
dc.title.alternative | Geosptil decision support systems development for rel time disster reporting :bcse study of Ht Yi district, Songkhl province, Thilnd | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are 1) To develop the geospatial decision support systems for real-time disaster reporting 2) To assess the development of geospatial decision support systems for real-time disaster reporting. For the research methodology, the researcher has developed a system using PHP and MySQL database and for map creation, the researcher used Google Maps API as the standard to develop the program in the form of Web Application that is compatible with various operating system such as Android, iOS, Windows so as to enable the end users to have easy access to the system. The study revealed the uniqueness of the developed system, which are 1) The system can collect data in the form of pictures, messages, coordinates, locations and report real-time information about the current situation 2) The system is compatible with multiple operating system on Computer System and Mobile Phone 3) The system can display the position of the users and search for important places such as institutes related to Flood Cooperation Center or the Department of Disaster Prevention and Mitigation 4) The system can determine the radius scope, vulnerable zones, flooded areas and surveillance area according to the severity of that area. The results of the satisfaction survey of geospatial decision support systems for real-time disaster reporting in both fields showed that, in the field of program design, ( X = 4.725) the system satisfaction is at the highest level while in the field of program usability, ( X = 4.985) the system satisfaction is at the highest level. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 63.63 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น