กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12635
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.advisorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.authorนฤดม พิมพ์ศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2024-01-25T08:46:48Z
dc.date.available2024-01-25T08:46:48Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12635
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบสำรวจความฉลาดทางอารมณ์ตามโมเดลของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และสร้างปกติวิสัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 1,830 คน ได้กลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่าเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีข้อคำถามจำนวน 64 ข้อ วัดความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5 องค์ประกอบ 15 องค์ประกอบย่อย มีค่าอัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหาระหว่าง -.20 ถึง 1.00 พารามิเตอร์อำนาจจำแนกมีค่าระหว่าง .65 ถึง 2.18 ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่าโมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (มีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ เท่ากับ 1.95 ดัชนีวัดความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยของข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่คลาดเคลื่อนไปจากโมเดลทางทฤษฎีเท่ากับ .028 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเท่ากับ .98 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้วเท่ากับ .96 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบเท่ากับ .99 ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองของการประมาณค่า เท่ากับ .035 ความเที่ยงมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบวัดเท่ากับ .965
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectHumanities and Social Sciences
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.subjectนักศึกษา
dc.titleการพัฒนาแบบสำรวจความฉลาดทางอารมณ์ตามโมเดลของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
dc.title.alternativeA development of emotionl intelligence inventory bsed on br-on revised model for undergrduted students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were; 1) to develop an emotional intelligence inventory based on Bar-On revised model for undergraduate students, 2) to validate the test quality, and 3) to develop norm and the test manual. The participants consisted of 1,830 undergraduate students at Mahasarakham University, selected by multistage random sampling technique. The results indicated that the emotional intelligence inventory based on Bar-On revised model for under graduated students consisted of 64 items, 5 components and 15 subscales. Content validity ratio (CVR) was between -.20 to 1.00. The model fitted well with the data (Relative chi-square (χ2/df) was 1.95, Root mean square residual (RMR) was .028, Goodness of fit index (GFI) was .98, Adjusted goodness of fit index was .96, Comparative fit index (CFI) was .99, and Root mean square error of approximation (RMSEA) was .035.) Discriminant parameters were between .65 to 2.18. Cronbach’s Alpha internal consistency reliability was .965.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.29 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น