กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12634
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสิทธิ์ จิตรสถาพร | |
dc.contributor.advisor | พูลพงศ์ สุขสว่าง | |
dc.contributor.author | สุวิช นนทบุตร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:46:48Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:46:48Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12634 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริง เรื่อง การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน The 90/90 Standard 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัวและแบบแสดงตัว กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตระดับปริญญาตรีสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 83 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย บทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดบุคลิกภาพ MPI วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-testdependent) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมแบบทางเดียว (One-way ANCOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริง เรื่อง การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้มีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.27/93.33 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน The 90/ 90 Standard 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริง สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัวที่เรียนจากบทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านิสิตที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความจริงเสมือนเพื่อการศึกษาขั้นอุดมศึกษา | |
dc.subject | การศึกษานอกสถานที่ | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | กิจกรรมของนักศึกษา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.title | ผลการใช้บทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ที่มีบุคลิกภาพแตกต่างกัน | |
dc.title.alternative | Effects of virtul field trip upon lerning cheivement of Eductionl Technology undergrdute students with different personlity | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of research were to: 1) develop a virtual field trip lessons on utilization of learning resources to meet the 90/90 criterion standard; 2) compare the learning achievement (pretest and posttest) of Educational Technology undergraduate students after learning with the virtual filed trip lessons; and 3) compare the learning achievement between the introvert personality and extrovert personality groups after learning with the virtual field trip lessons. The sample group was undergraduate students of Educational Technology, Faculty Education, Burapha University. Simple random sampling technique was applied to select 83 participants to participate in the study. The research instruments consisted of the virtual field trip lessons, the learning achievement test, and the Meudsley Personality Invertory (MPI). The data were analyzed by descriptive statistics, dependent t-test, and one-way ANCOVA. The results revealed that 1) the efficiency of virtual field trip lesson was 90.27/93.33, which meet the 90/ 90 standard criterion; 2) the learning achievement of the educational technology undergraduate students after learning with the virtual field trip lessons was statistically significant higher the pretest scores at the .01 level of significance; and 3) the learning achievement of the introvert personality students was statistically significant higher than the extrovert personality students at the .05 level of significance. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น