กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1259
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เอกอุ ธรรมกรบัญญัติ | |
dc.contributor.author | อดิชัย พรพรหมินทร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:22Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:22Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1259 | |
dc.description.abstract | วิธี Cubic Interpolated Propagation (CIP) scheme ซึ่งพัฒนาโดย Yabe และคณะ โดยรับการยอมรับเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิธีนี้ให้ความแม่นยำลำดับที่ 3 ในสเปซ โดยมีการนำวิธี CIP scheme ไปใช้ในปัญหาทางด้านกลศาสตร์ของไหลมากกมาย ซึ่งครอบคลุมทั้งของไหลที่อัดตัวได้และอัดตัวไม่ได้ ในโครงการนี้ ได้ทำการศึกษาวิธี CIP scheme สำหรับปัญหาหนึ่งมิติทางชลศาสตร์ โดยเริ่มแรกนั้นได้เปรียบเทียบวิธี CIP scheme กับวิธี Upwind scheme ด้วยสมการการนำพาทั้งแบบที่มีและไม่มี Source term พบว่าวิธี CIP scheme ให้ผลลัพธ์ใกล้เคียงกับผลเฉลยแม่นตรงกว่าวิธี Upwind scheme เป็นอย่างมาก ขั้นต่อมาได้ใช้สมการการนำพาและการแพร่กระจายในการเปรียบเทียบวิธี CIP, Upwind และ Central schemes พบว่าวิธี CIP ยังคงให้ผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับผลเฉลยแม่นตรงที่สุด สุดท้ายได้นำวิธี CIP scheme มาประยุกต์ใช้สมการการไหลน้ำตื้นหนึ่งมิติ (Schallow water equations) ในปัญหาน้ำหลากโดยฉับพลัน นอกจากนี้ได้ทำการทดลองเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ โดยแบ่งการทดลองทั้งหมดออกเป็น 4 กรณี สำหรับการทดลองกรณีที่ 1 และ 2 ใช้ฝายสันกว้างชนิดสันคม โดยกรณีที่ 1 มีอัตราการไหลเป็น 980 ลิตร/นาที ค่าความชันของรางน้ำ 0.0015 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานความขรุขระ 0.009 ส่วนกรณีที่ 2 มีอัตราการไหลเป็น 1030 ลิตรต่อนาที ค่าความชันของรางน้ำ 0.0007 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานความขรุขระ 0.009 ตามลำดับ สำหรับกรณีที่ 3 และ 4 ใช้ฝายน้ำล้นแบบไหลข้าม โดยกรรีที่ 1 มีอัตราการไหลเป็น 500 ลิตร/นาที ค่าความชันของรางน้ำ 0.0005 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานความขรุขระ 0.009 ส่วนกรณีที่ 2 มีอัตราการไหลเป็น 1500 ลิตรต่อนาที ค่าความชันของรางน้ำ 0.002 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานความขรุขระ 0.008 ตามลำดับ ซึ่งเมื่อนำผลการทดลองที่ได้ไปเรียบเทียบกับแบบจำลอง พบว่า แบบจำลองสามารถคำนวณแนวโน้มลักษณะการไหลของน้ำได้ใกล้เคียงกับการทดลองมาก และสามารถคำนวณตำแหน่งการเกิดน้ำกระโดดได้อย่างแม่นยำ ซึ่งแสดงให้เห็นความสามารถของวิธี CIP scheme ในการนำมาประยุกต์ใช้สำหรับสมการการไหลน้ำตื้นหนึ่งมิติได้ และสามารถประยุกต์ใช้กับปัญหาทางชลศาสตร์ที่ซับซ้อนมากขึ้นได้ในอนาคต | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.subject | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.title | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อศึกษาการไหลของน้ำในแม่น้ำ | th_TH |
dc.title.alternative | Mathematical model to study the river flow | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | The cubic interpolated Propagation (CIP) scheme, developed by Yabe et al., is highly accepted for its third-order accuracy in space. The CIP scheme has been successfully applied to various problems in fluid mechanics covering both compressible and incomepressible fluids. This project studied the CIP scheme in one-dimensional hydraulic problems. First, the CIP scheme is compared with the Upwind scheme using an advection equation. The resultshowed that the solutions of the CIP scheme are closer to the exact solutions than the Upwind scheme. Then an advection-dispersion equation including convection and diffusion terms is used to compare the CIP scheme, the Upwind scheme and the Central scheme. The CIP scheme still showed shows a very good agreement with the exact solutions. Finally, the CIP scheme is applied to the one-dimensional shallow water equations, the flash flood problems. The mathematical models are verified with some experiments which are divided in to four causes. For the first and the second cases, the broad case weir is used with flow rate of 900 liters per minute, 0.0015 gradient of gutter, manning n= 0.010 and flow rate of 1030 liters per minute, 0.0007 gradient of gutter, manning n=0.009, respectively. For the third and the fourth case, overflow spillway is used with flow rate of 500 liters per minute, 0.0005 gradient of gutter, manning n=0.009 and flow rate of 1500 liters per minute, 0.0002 gradient of gutter, manning n=0.008, respectively. From the experiment all results, it can be found that the mathematical model can calculate trend to the water flow characteristic that is very case to experiments. In addition, the mathematical model can calculate the accurately position of appearance of Hydraulics Jump which indicated the capabulity of CIP scheme in appling to the one-dimension al shallow water equations and the complicated problems in hydraulic in the future. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น