กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1234
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริมา ชินสาร | th |
dc.contributor.author | วิชมณี ยืนยงพุทธกาล | th |
dc.contributor.author | นิสานารถ กระแสร์ชล | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:21 | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:21Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1234 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการเตรียมขั้นตอน วิธีการในการทำแห้ง ขนาดอนุภาค และชนิดของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพของขลู่ ขั้นตอนแรกเป็นการศึกษาผลของวิธีการเตรียมขั้นตอนที่แตกต่างกัน 3 วิธี คือ ไม่มีการเตรียมขั้นตอน (ตัวอย่างควบคุม) การลวกในน้ำ และการลวกในสารละลายแมกนีเซียมคาร์บอเนต ความเข้มข้น 0.06% ต่อคุณภาพของขลู่ผง พบว่า วิธีการเตรียมขั้นต้นมีผลต่อค่าสี (ค่า a* และ b*) ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระและคะแนนความเข้มด้านสีเขียวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่ไม่มีผลต่อคะแนนความเข้มด้านกลิ่นรส (p<0.05) โดยวิธีการเตรียมขั้นต้นที่เหมาะสมคือ การลวกใบขลู่ในสารละลายแมกนีเซียมคาร์บอเนต ซึ่งทำให้ขลู่ผงมีค่าความแตกต่างของสีต่ำสุด และได้รับคะแนนความเข้มด้านสีเขียวสูงที่สุด (p<0.05) ขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาผลของวิธีการทำแห้งต่อคุณภาพของขลู่ผง โดยแปรวิธีการในการทำแห้ง 4 วิธี คือ การอบแห้งด้วยตู้อบสุญญากาศการอบแห้งด้วยตู้อบลมร้อน การคั่วใบขลู่ร่วมกับการอบแห้งด้วยตู่อบสุญญากาศ และการคั่วใบขลู่ร่วมกับการอบแห้งด้วยตู้อบลมร้อน ผลการทดลองพบว่า การคั่วใบขลู่ร่มกับการอบแห้งด้วยตู้อบสุญญากาศทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ขลู่ผงที่มีคุณภาพที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่น ๆ โดยมีค่า (7.18)ต่ำที่สุด แต่มีค่าความเป้นสีเขียว (-4.72) ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก (121.80 mg GAE/g dry matter) และเปอร์เซ็นต์การยับยั้งอนุมูลอิสระ (88.58%) สูงที่สุดอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) น้ำชาที่ได้ได้รับคะแนนความชอบด้านกลิ่นรสสูงที่สุดในระดับชอบปานกลาง ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาผลของขนาดอนุภาค ผ50 60 70 และ 80 เมช) ต่อคุณภาพของขลู่ผง พบว่า ขนาดอนุภาคมีผลต่อค่าสี (L8 และ b*) ความสามารถในการละลาย และคะแนนความชอบด้านสีและกลิ่นรสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่ไม่มีผลต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และคะแนนความชอบด้านกลิ่นและความชอบโดยรวม (p>0.05) ดดยขนาดอนุภาคที่เหมาะสมคือ อนุภาคขนาด 80 เมช ซึ่งทำให้ขลู่ผงมีความสามารถในการละลายสุงที่สุด (p<0.05) ขั้นตอนสุดท้าย เป้นการศึกษาผลของชนิดของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพของขลู่ผงระหว่างการเก็บรักษา โดยการเก็บรักษาขลู่ผงในบรรจุภัณฑ์ 2 ชนิดคือ ถุงพลาสติกใสชนิดโพลิโพรพิลีนแบบหนาปิดผนึก และถุงอะลูมิเนียมฟอยด์ลามิเนตปิดผนึก ที่อุณหภูมิห้อง เป้นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า ชนิดของบรรจุภัณฑ์มีผลต่อปริมาณความชื้น ค่าสี L* a* และค่า Water activity (aw) ของขลู่ผงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ภายหลังการเก็บรักษาเป้นเวลา 2 สัปดาห์ โดยถุงอะลูมิเนียมฟอยล์ลามิเนต สามารถรักษาคุณภาพของขลู่ผงได้ดีกว่าถุงพลาสติกใสชนิดโพลิโพรพิลีน | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การอบแห้ง | th_TH |
dc.subject | ขลู่ผง | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การพัฒนากรรมวิธีการผลิตขลู่ผงพร้อมใช้งาน | th_TH |
dc.title.alternative | Process development of ready to use indian marsh fleabane power | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | This research was to study the effect of pretreatment, drying method, particle size and type of package on qualities of indian march fleabane powder. First step, the effect of 3 pretreatment methods, no pretreatment (control), water blanching on qualities of indian marchfleabane power was onvestigated. Results showed that pretreatment method affected in color value (a* and b*), total phenolic compound content, free radical inhibition and attribute intersity in term of green color with significant difference (p<0.05). But there was no significant difference on the attribute intensity in term of flavor (p>0.05). The appropriated pretreatment method was magnesium carbonate solution blanching. The power obtained from this method had the lowest E and highest score for the attribute intensity in term of green color (p<.0.05). second step, the effect of drying methods on qualities of indian march fleabane power was studied. There were 4 drying methods for this experiment, vacuum drying, hot air drying, leaf roasting combined with vacuum drying and leaf roasting combined with hot air drying. Results results revealed that the leaf roasting combined with vacuum drying method gave the best quality for indian march fleabane power as compared with other methods. This power had the lowest E (7.18) but highest in greenness (-7.72), phenolic compound (121.80 mg GAE/g dry matter) and free radical inhibition (88.58%) with significant (p<0.05). The obtained tea had the highest liking score in term of flavor at the level of moderately like. third step, the effect of particle size (50 60 70 and 80 mesh) on qualities of indian march fleabane power was studied. Results. revealed that the particle size affected incolor value (L* and *), and solubility and liking score in term of color and flacor with significant difference (p<0.05). But there was no significant difference on total phenolic compound content, free radical inhibition and liking score in term of odor and overall liking (p>0.050. The 80 mesh power was an appropriated particle size with highest solubility (p<0.05). Final step, the effect of type of package on qualities of indian march fleabane power during storage was studied. Indian march fleabane power was kept in 2 type of package, polypropylene bag and aluminum foil laminuted bag, at room temperature for 8 weeks. Results demonstrated that type of package affected in moisture content, color value (L*, a* and b*), and aw of indian march fleabane power with significant difference (p<0.05) after the second week of indian march flesbane power than polypropylene bag. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น