กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1111
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกรองจันทร์ รัตนประดิษฐ์th
dc.contributor.authorสมจิตต์ ปาสะกาศth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:17Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:17Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1111
dc.description.abstractจากการวิจัย การพัฒนาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตข้าวเหนียวดำและข้าวกล้องหอมมะลิแดง โดยการหมักร่วมกันของราและยีสต์บริสุทธิ์ รวมทั้งสิ้น 6 ชุดทดลอง ซึ่งประกอบด้วยรา 2 ชนิดคือ Aspergillus oryzae TISTR 3256 และ Amylomyces rouxii TISTR3182 หมักร่วมกับยีสต์ Saccharomyces cerevisiae จำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Burgundy, Kyokai และ ATCC 5049 พบว่า การหมักข้าวเหนียวกำร่วมกันของ Amylomyces rouxii TISTR3182 และ Saccharomyces cerevisiae สายพันธุ์ Kyokai และ ATCC 5049 ที่เติมหัวเชื้อยีสต์ 8 เปอร์เซ็นต์ หลังจากเลี้ยงเชื้อราเป็นเวลา 3 วัน โดยเติมแอมโมเนียมซัลเฟต 0.2 กรัมต่อลิตร และปรับปริมาณของแข็งที่ละลายได้เป็น 22 องศาบริกซ์ สามารถผลิตแอลกอฮอล์ได้สูงสุด โดยให้สีและกลิ่นรสที่ดี ในการนำมาพัฒนาน้ำส้มสายชูหมัก พบว่า แบคทีเรียน้ำส้ม 2 สายพันธุ์ คือ Acetobactor aceti TISTR 103 และ Acetobactor aceti TISTR 1074 สามารถผลิตน้ำส้มสายชูได้สูงเทียบเท่ามาตรฐานสากล เมื่อเลี้ยง Acetobactor aceti TISTR 103 ด้วยน้ำหมักข้าวเหนียวดำที่ปรับปริมาณกรดเริ่มต้นเท่ากับ 2 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณแอลกอฮอล์เริ่มต้น 8 เปอร์เซ็นต์ สามารถผลิตแอลกอฮอล์ได้สูงถึงเกือบ 10 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแตกต่างกับการหมัก Acetobactor aceti TISTR 1074 พบว่าสามารถผลิตน้ำส้มสายชูหมักได้ดี เมื่อปรับน้ำข้าวเหนียวดำให้มีปริมาณกรดเริ่มต้นเท่ากับ 2 เปอร์เซ็นต์ และปรับปริมาณแอลกอฮอล์เริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ สามารถผลิตกรดน้ำส้มสายชูได้สูงเกือบ 10 เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกัน.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectข้าวกล้อง - - วิจัยth_TH
dc.subjectน้ำส้มสายชู - - การผลิตth_TH
dc.titleการพัฒนาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวกล้องไทย (Oryza sativa L.) ในระดับห้องปฏิบัติการth_TH
dc.title.alternativeevelopment of optimum conditions for fermented vinegar production from upolished Thai rice (Oryza satival L.) in laboratory scaleen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2551
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น